กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6602
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorเชษฐ์ ศิริสวัสดิ์
dc.contributor.advisorชนวัฒน์ ตันติวรานุรักษ์
dc.contributor.authorน้ำอ้อย ไกรภูมิ
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์
dc.date.accessioned2023-05-12T03:09:01Z
dc.date.available2023-05-12T03:09:01Z
dc.date.issued2561
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6602
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.) -- มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน การคิดวิเคราะห์ และความคงทนในการเรียนรู้ เรื่องระบบหมุนเวียนเลือดของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โดยการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้นร่วมกับผังมโนทัศน์กับการจัดการเรียนรู้แบบปกติกลุ่มตัวอย่างได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 จำนวน 68 คน โรงเรียนท่าศาลาประสิทธิ์ศึกษา สังกัด สพม. 12 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและแบบทดสอบวัดการคิดวิเคราะห์สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและสถิติที่ใช้ในการทดสอบสมมติฐานคือ ANCOVA และทดสอบค่าทีแบบสองกลุ่มอิสระกัน (Independent Sample t-test) ผลการวิจัยพบว่า 1. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้นร่วมกับผังมโนทัศน์มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่านักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้นร่วมกับผังมโนทัศน์มีการคิดวิเคราะห์หลังเรียนสูงกว่านักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้นร่วมกับผังมโนทัศน์มีความคงทนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนไม่แตกต่างกับนักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบปกติ 4. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้นร่วมกับผังมโนทัศน์มีความคงทนการคิดวิเคราะห์แตกต่างกับนักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
dc.language.isoth
dc.publisherคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาชีววิทยาศึกษา
dc.subjectการไหลของเลือด
dc.subjectผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
dc.titleการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน การคิดวิเคราะห์และความคงทนในการเรียนรู้เรื่องระบบหมุนเวียนเลือดของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โดยการจัดการเรียนรู้แบบวัฎจักรสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น ร่วมกับผังมโนทัศน์กับการจัดการเรียนรู้แบบปกติ
dc.title.alternativeA comprison of grde 7 thstudents lerning chievement nd nlyticl thinking nd retention on circultory system by 7e inquiry cycle with concept mpping nd conventionl lerning
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this experimental research was to compare ofgrade 7 th students learning achievement and analytical thinking and retention on circulatory system by 7E inquiry cycle with concept mapping and conventional learning. The sample were 68 grade 7th students of Thasalaprasitsuksa under the Office of Education Service Area 12. The research instruments were Learning Achievement Test, Analytical Thinking Test. The data were statistical analyzed by Percentage, Mean,Standard Deviation and hypothesis test statistical by ANCOVA test and Independent Sample t-test. The research findings were as follows: 1. Grade7 th students who participants in learning management by 7E inquiry cycle with concept mapping had posttest score higher than the group who participants conventional learning of achievement at .05 significance level. 2. Grade 7 th students who participants in learning management by 7E inquiry cycle with concept mapping had posttest score higher than the group who participants conventional learning of analytical thinking at .05 significance level. 3. Grade 7 th students who participants in learning management by 7E inquiry cycle with concept mapping had not different the group who participants conventional learning of achievement retention. 4. Grade 7 th students who participants in learning management by 7E inquiry cycle with concept mapping had different the group who participants conventional learning of analytical thinking retention at .05 significance level.
dc.degree.levelปริญญาโท
dc.degree.disciplineชีววิทยาศึกษา
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:วิทยานิพนธ์ (Theses)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
Fulltext.pdf3.89 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น