กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6553
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | วีระ หวังสัจจะโชค | |
dc.contributor.author | กัมปนาท เบ็ญจนาวี | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2023-05-12T03:01:49Z | |
dc.date.available | 2023-05-12T03:01:49Z | |
dc.date.issued | 2560 | |
dc.identifier.uri | https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6553 | |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ร.ม.) -- มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560 | |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้เป็นการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพแนวพรรณนา มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากระบวนการผลิตสร้างกะเทยคาบาเร่ต์ในเมืองพัทยา รวมถึงศึกษาและนำเสนอกระบวนการตอบโต้ของกะเทยคาบาเร่ต์ในเมืองพัทยาต่อการรับรู้เดิมเพื่อสร้างการรับรู้ใหม่ในสังคม โดยอาศัยกรอบแนวคิดปฏิสัมพันธ์เชิงสัญลักษณ์รวมถึงวิธีวิทยาภายใต้การศึกษาแบบการตีความเป็นกรอบในการศึกษาผลการศึกษาตามวัตถุประสงค์มีดังนี้ ข้อ 1 พบว่า กระบวนการผลิตสร้างกะเทยคาบาเร่ต์ในเมืองพัทยา ส่วนหนึ่งเกิดขึ้นจากบริบทเชิงโครงสร้างของการพัฒนาการแสดงคาบาเร่ต์ ในเมืองพัทยา ซึ่งมีปัจจัยเชิงโครงสร้างต่าง ๆ ในฐานะสภาพแวดล้อมที่ส่งผลต่อความเป็นอาชีพของกะเทยคาบาเร่ต์ในปัจจุบัน และส่วนหนึ่งเกิดขึ้นจากสภาพแวดล้อมและบริบทเชิงสถาบันของโรงแสดงคาบาเร่ต์มีอิทธิพลต่อการผลิตสร้างตัวตนและบทบาทของกะเทยคาบาเร่ต์ รวมถึงส่งผลต่อการสร้างความสัมพันธ์เชิงอำนาจระหว่างกะเทยคาบาเร่ต์กับกลุ่มคนต่าง ๆ ที่มีปฏิสัมพันธ์ด้วย ข้อ 2 พบว่า ชุดการรับรู้เดิมในสังคมต่อกะเทยคาบาเร่ต์ในเมืองพัทยาเกิดขึ้นจากกระบวนการผลิตสร้างจากกลไกทางสังคมที่สำคัญ ได้แก่ สื่อ องค์กรของรัฐ นโยบายและกฎหมาย การศึกษาและศาสนา ชุดการรับรู้เดิมในสังคมส่งผลต่อการรับรู้ของคนในสังคมส่วนใหญ่ มองว่า กะเทยคาบาเร่ต์เป็นส่วนหนึ่งของปัญหาของสังคม โดยเฉพาะปัญหาเกี่ยวกับการพัฒนาการท่องเที่ยวในเมืองพัทยา ทำให้กะเทยคาบาเร่ต์ต้องสร้างกระบวนการตอบโต้ต่อชุดการรับรู้เดิมด้วยการสร้างการรับรู้ใหม่ในสังคมขึ้น เพื่อปัญหาความสัมพันธ์เชิงอำนาจที่ไม่เท่าเทียมกันระหว่างเพศที่เกิดขึ้นภายใต้ชุดการรับรู้เดิมของสังคม กระบวนการสร้างการรับรู้ใหม่ในสังคมของกะเทยคาบาเร่ต์เกิดขึ้นใน 3 ระดับ แบ่งออกได้ดังนี้การทำความเข้าใจตัวตนและบทบาทของกะเทยคาบาเร่ต์ (ระดับความคิด) การนำเสนอตัวตนผ่านร่างกาย (ระดับร่างกาย) และการสร้างพื้นที่ทางสังคม (ระดับสังคม) ผลของการตอบโต้ของกะเทยคาบาเร่ต์ในเมืองพัทยาสามารถนำตัวตนของตนเองไปใช้ประโยชน์ต่าง ๆ และสร้างการยอมรับจากสังคมได้ในระดับหนึ่ง | |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.rights | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.subject | กะเทย -- การดำเนินชีวิต | |
dc.subject | กะเทย | |
dc.subject | มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์การเมืองและการบริหารจัดการ | |
dc.title | กระบวนการผลิตสร้างกะเทยคาบาเร่ต์ในเมืองพัทยา | |
dc.title.alternative | Construction process of kthoey cbret in ptty city | |
dc.type | วิทยานิพนธ์/ Thesis | |
dc.description.abstractalternative | This research aims to study the construction process of Kathoey cabaret in Pattaya city. It is both studying and presentation of Kathoey cabaret’s resistance in Pattaya city from ex-perception to the new perception of society. The research was qualitative descriptive research, which used the concept of symbolic interaction. Moreover, the methodology of research was hermeneutic. The research was found two purposes: the first of purpose was the construction process of Kathoey cabaret in Pattaya city. It was occurred from development’s structure of cabaret show, and the structural factors affected to Kathoey cabaret’s occupationness as well. Besides, one of them was arose from environment and institution of the cabaret theaters. It had been impacted to identity construction, role of Kathoey cabaret, and construction of power relation between Kathoey cabaret and other groups that were related each other. The second result of purpose found that social ex-perception to Kathoey cabaret in Pattaya city rose from social construction process. For instance, official media, policy and law, education and religion. Therefore, it was background of thought to social ex-perception which Kathoey cabaret was the trouble of society. Especially, the problem of tourism development in Pattaya city. It was made Kathoey cabaret disproved ex-perception and tried to construct the social new perception as a result of the inequality of sex in social ex-perception. In addition, the process of them to establish the new knowledge could divide three levels: understanding of Kathoey cabaret identity (level of thought), Self-presentation thru their bodies (body level), and social construction (social level). Finally, the resistant result of Kathoey cabaret in Pattaya city could be used an advantage from their identity | |
dc.degree.level | ปริญญาโท | |
dc.degree.discipline | เศรษฐศาสตร์การเมืองและการบริหารจัดการ | |
dc.degree.name | รัฐศาสตรมหาบัณฑิต | |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | วิทยานิพนธ์ (Theses) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
Fulltext.pdf | 2.68 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น