กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6531
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ศิริวรรณ แสงอินทร์ | |
dc.contributor.advisor | วรรณทนา ศุภสีมานนท์ | |
dc.contributor.author | รักรุ้ง โกจันทึก | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะพยาบาลศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2023-05-12T03:01:44Z | |
dc.date.available | 2023-05-12T03:01:44Z | |
dc.date.issued | 2560 | |
dc.identifier.uri | https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6531 | |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (พย.ม.)-- มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560 | |
dc.description.abstract | หญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะน้ำหนักเกินมาตรฐานก่อนตั้งครรภ์เพิ่มความเสี่ยงต่อภาวะสุขภาพของมารดาและทารก ทั้งในระยะตั้งครรภ์ระยะคลอด และหลังคลอด การศึกษานี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลองเพื่อศึกษาผลของโปรแกรมส่งเสริมการรับรู้ความสามารถในตนเองด้านโภชนาการต่อพฤติกรรมสุขภาพ ด้านโภชนาการและน้ำหนักเพิ่มของหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะน้ำหนักเกินมาตรฐาน ก่อนตั้งครรภ์กลุ่มตัวอย่าง คือ หญิงตั้งครรภ์ครั้งแรกที่มีภาวะน้ำหนักเกินมาตรฐานก่อนตั้งครรภ์ที่มาฝากครรภ์ที่โรงพยาบาลพระพุทธบาท จังหวัดสระบุรี ได้มาด้วยวิธีการเลือกแบบสะดวก จำนวน 60 ราย โดยจัดให้ 30 รายแรกเป็นกลุ่มควบคุม และ 30 รายหลังเป็นกลุ่มทดลอง ดำเนินการเก็บข้อมูลครั้งแรกกับกลุ่มควบคุมทั้งหมดก่อนดำเนินการวิจัยกับกลุ่มทดลองกลุ่มควบคุมได้รับกิจกรรมการพยาบาลตามปกติกลุ่มทดลองได้รับกิจกรรมการพยาบาลตามปกติและโปรแกรมการส่งเสริมการรับรู้ ความสามารถในตนเองด้านโภชนาการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยการแจกแจงความถี่ร้อยละ พิสัยค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน Fisher’s exact test, Chi-square test, Mann-Whitney U test และ t-test ผลการวิจัยพบว่ากลุ่มทดลองมีค่าเฉลี่ยความแตกต่างของคะแนนพฤติกรรมสุขภาพ ด้านโภชนาการก่อนและหลังทดลองสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (t58= 9.22, p< .001) กลุ่มทดลองมีค่าเฉลี่ยคะแนนพฤติกรรมสุขภาพด้านโภชนาการหลังทดลองสูงกว่าก่อนทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (t29=11.67, p < .001) และกลุ่มทดลองมีค่าเฉลี่ยน้ำหนักเพิ่มรายสัปดาห์แตกต่างจากกลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (t58 = -8.12, p < .001) จากผลการวิจัยเสนอแนะว่า พยาบาลแผนกฝากครรภ์ควรประยุกต์โปรแกรม ฯ ไปใช้ในการดูแลหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะน้ำหนักเกินมาตรฐานก่อนตั้งครรภ์ อันจะช่วยให้หญิงตั้งครรภ์กลุ่มนี้ดูแลตนเองในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้านโภชนาการได้อย่างเหมาะสม | |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.rights | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.subject | มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการผดุงครรภ์ขั้นสูง | |
dc.subject | ครรภ์ -- โภชนาการ | |
dc.subject | ครรภ์ -- การดูแลและสุขวิทยา | |
dc.subject | ครรภ์ | |
dc.title | ผลของโปรแกรมส่งเสริมการรับรู้ความสามารถในตนเองด้านโภชนาการต่อพฤติกรรมสุขภาพด้านโภชนาการและน้ำหนักเพิ่มของหญิงตั้งครรภ์ครั้งแรกที่มีภาวะน้ำหนักเกินมาตรฐานก่อนตั้งครรภ์ | |
dc.title.alternative | Effects of perceived self-efficcy in nutrition enhncement progrm on nutrition helth behvior nd weight gin mong primiprous pregnnt women with pre-pregnnt overweight | |
dc.type | วิทยานิพนธ์/ Thesis | |
dc.description.abstractalternative | Pre-pregnant overweight increased risk for the maternal and early childhood during pregnancy, labor and postpartum. This quasi-experimental research aimed to investigate effects of perceived self-efficacy enhancement program on healthy nutritional behaviors and weight gain among primiparous pregnant women with pre-pregnant overweight. There were 60 participants receiving antenatal care service at Prabhuddabaht hospital, Saraburi province who were selected by convenience sampling. First 30 participants were in control group while latter 30 participants were in experimental group. The researcher collected pretest data from control group, then conducted the study with experimental group. Control group had routine care while experimental group had both routine care and perceived self-efficacy in nutrition enhancement program. Data were analyzed by frequency, percentage, range, mean, standard deviation, Fisher’s exact, Chi-square, Mann-Whitney-U, and t-test. Results revealed that experimental group had significantly higher difference of pre-posttest mean score of nutrition health behavior than control group (t 58= 9.22, p< .001). In addition, experimental group had mean score of nutrition behavior after experiment higher than before experiment (t 29=11.67, p< .001). Findings suggest that nurses in antenatal care clinic apply this program to care for pre-pregnant overweight women. This might help women in changing their nutrition health behavior successfully. | |
dc.degree.level | ปริญญาโท | |
dc.degree.discipline | การผดุงครรภ์ขั้นสูง | |
dc.degree.name | พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต | |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | วิทยานิพนธ์ (Theses) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
Fulltext.pdf | 1.75 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น