กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6485
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorอุษาวดี ตันติวรานุรักษ์
dc.contributor.authorวิศรุต ศรีนวล
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์
dc.date.accessioned2023-05-12T02:51:28Z
dc.date.available2023-05-12T02:51:28Z
dc.date.issued2560
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6485
dc.descriptionงานนิพนธ์ (วท.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อออกแบบและสร้างชุดทดสอบวัดค่าคุณสมบัติทางแสง ได้แก่ ค่าการสะท้อนแสง ค่าการส่งผ่านแสง และค่าการดูดกลืนแสงที่ประกอบใช้ง่าย สะดวกต่อการพกพา และราคาถูก โดยใช้แหล่งกำเนิดแสงจากหลอดแอลอีดี 5 W ผ่านเส้นใยแก้วนำแสง เข้าเครื่องวัดความเข้มแสงที่เชื่อมต่อกับคอมพิวเตอร์และใช้พอลิเอทิลีนในงานเกษตรกรรมเป็นตัวอย่างในการทดสอบ จำนวน 6 ชนิด 25 ความหนา ประกอบด้วย ชนิด A สีใส ความหนา 90, 100,110,150, 200,250, 300 และ 600 µm ชนิด B สีส้ม ความหนา 200 µm ชนิด C สีขาว ความหนา 200 และ300 µm ชนิด D สีดำ ความหนา 150,200, 220, 280,300,500 และ 650 µm ชนิด E สีเงินดำ (รับแสงด้านเงิน) ความหนา 25, 28, 30,40,100 และ 300 µm และ ชนิด F สีขาวดำ (รับแสงด้านขาว) ความหนา 300 µm ผลการทดสอบในช่วงความยาวคลื่น 445-600 nm พบว่าชุดทดสอบมีความสามารถในการแยกแยะและชี้ชัดถึงคุณลักษณะทางกายภาพของพอลิเอ ทิลีนและมีการตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงชนิดและความหนาของฟิล์มพอลิเอทิลีนในระดับไมโครเมตร ได้เป็นอย่างดี โดยสามารถคำนวณค่าคุณสมบัติทางแสงที่สอดคล้องกับความหนาที่แตกต่างกันและชี้ชัดถึงความแตกต่างของพอลิเอทิลีนในแต่ละความหนาได้ซึ่งชุดทดสอบทางแสงที่พัฒนาขึ้นนี้ สามารถเป็นทางเลือกหนึ่งที่เกษตรกรสามารถเข้าถึง เรียนรู้ และนำข้อมูลที่ได้จากการวัดไปใช้ประโยชน์ในการเลือกพอลิเอทิลีนคลุมดินและคลุมโรงเรือนพืชให้เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของพืชต่อไป
dc.language.isoth
dc.publisherคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectพอลิเอทิลีน
dc.subjectสเปกโตรมิเตอร์
dc.subjectแสง
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาฟิสิกส์ศึกษา
dc.titleการออกแบบและสร้างชุดทดสอบเพื่อหาค่าคุณสมบัติทางแสงของพอลิเอทิลีนในงานเกษตรกรรม
dc.title.alternativeExperimentl fbriction nd design for the light properties of polyethylene in griculture
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeThis research aims to design and construct a device for measuring such optical properties as reflectance, transmittance, and absorptance, that is easy to assemble, easy to use, convenient to carry, and cheap. A 5-watt LED light bulb was used as a light source. The light from the light bulb was transmitted through an optical fiber and passed through a spectrometer that was connected to a computer. The test set consisted of six types (colors) of polyethylene in 25 thicknesses. The samples were: A) Transparent, in thicknesses 90, 100, 110, 150, 200, 250, 300, and 600 µm; B) Orange, in thickness 200 µm; C) Thin White, in thicknesses 200 and 300 µm; D) Black, in thicknesses 150, 200, 220, 280, 300, 500, and 650 µm; E) Silver, in thicknesses 25, 28, 30, 40, 100, and 300 µm; F) Thin Black and White (White), in thickness 300 µm. Between the 445-600 nm wavelengths, the measured results indicated that the test kits had the ability to distinguish and identify the physical characteristics of polyethylene, and responded very well to the difference in type and thickness of polyethylene film at the level of the micrometer unit (micron). The results can also be used to compute optical properties corresponding to different thicknesses, and to indicate differences in polyethylene thickness. Therefore, this test kit is suitable as an alternative for farmers to use, and the data obtained from the measurements can be used in selecting polyethylene mulch and greenhouse plants suitable for the growth of crops.
dc.degree.levelปริญญาโท
dc.degree.disciplineฟิสิกส์ศึกษา
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:วิทยานิพนธ์ (Theses)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
Fulltext.pdf4.22 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น