กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6477
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorณัฐนนท์ ลีลาตระกูล
dc.contributor.authorเกรียงศักดิ์ ปานโพธิ์ทอง
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาการสารสนเทศ
dc.date.accessioned2023-05-12T02:51:26Z
dc.date.available2023-05-12T02:51:26Z
dc.date.issued2560
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6477
dc.descriptionงานนิพนธ์ (วท.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560
dc.description.abstractงานวิจัยนี้เสนอการเปรียบเทียบประสิทธิภาพของเทคนิคการจำแนกเครื่งใช้ไฟฟ้าจากการตรวจวัดกระแสไฟฟ้าที่แต่ละอุปกรณ์ไฟฟ้า ซึ่งถูกเฝ้าดูและควบคุมด้วยระบบเครือข่ายเซ็นเซอร์ไร้สายในงานวิจัยนี้ผู้วิจัยเลือกเปรียบเทียบเทคนิคการจำแนก 4 วิธีได้แก่ ต้นไม้ตัดสินใจ (Decision tree) นาอีฟเบย์ (Naïve Bayes) โครงข่ายประสาทเทียม (Neural network) และซัพพอร์ตเวกเตอร์แมชชีน (Support vector machine) เพื่อหาเทคนิคการจำแนกที่เหมาะสม ผู้วิจัยได้ออกแบบอุปกรณ์ตรวจจับกระแสในรูปแบบรางปลักไฟฟ้าและนำไปใช้กับทุก ๆ จุดที่เครื่องใช้ไฟฟ้าทำงานอยู่ในขั้นตอนการสร้างแบบจำลอง ค่ากระแสไฟฟ้าที่วัดจะถูกจัเก็บในระบบคอมพิวเตอร์ก่อนนำเข้าสู่กระบวนการจำแนกโดยใช้โปรแกรม Weka จุดมุ่งหมายของการตรวจจับกระแสไฟฟ้าในจุดที่เครื่องใชไฟฟ้าทำงานอยู่ (แทนที่จะเป็นแผงวงจรหลัก) เพื่อให้ระบบสามารถถูกพัฒนาต่อยอดให้รับรู้ได้อัตโนมัติว่าเครื่องไฟฟ้าถูกย้ายไปอยู่ที่ตำแหน่งใด สามารถควบคุมการเปิด/ปิด เครื่องใช้ไฟฟ้าแบบอัตโนมัติ สามารถระบุอุปกรณ์ไฟฟ้าที่ต้องระมัดระวังเป็นพิเศษเช่น กาต้มน้ำร้อน อันจะส่งผลให้สามารถเพิ่มความปลอดภัยในครัวเรือน ช่วยลดการสิ้นเปลืองพลังงาน และเพิ่มคุณภาพชีวิตได้ในอนาคต จากการทดสอบกับเครื่องใช้ไฟฟ้าตัวอย่าง 40 อุปกรณ์และเปรียบเทียบความถูกต้องของเทคนิค การจำแนกทั้ง 4 เทคนิค ผู้วิจัยพบว่า 1) ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานการใช้ไฟฟ้าเป็นข้อมูลที่จำเป็นสำหรัยการจำแนกสถานะของอุปกรณ์ไฟฟ้า 2) ต้นไม้ตัดสินใจ (J48) ให้ค่าความผิดพลาดน้อยที่สุดที่ 1.66% กฎที่ได้จากแบบจำลองต้นไม้ตัดสินใจถูกนำไปใช้ในอุปกรณ์ไมโครคอนโทรเลอร์ เพื่อการจำแนกแบบเวลาจริงพร้อมแสดงผลและควบคุมการเปิด/ปิด อุปกรณ์ไฟฟ้าผ่านเว็บไซต์
dc.language.isoth
dc.publisherคณะวิทยาการสารสนเทศ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (อีอีซี)
dc.subjectเครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน
dc.subjectเครื่องมือเครื่องใช้ไฟฟ้า
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ
dc.subjectอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะ
dc.titleเครือข่ายไร้สายเพื่อการจำแนกเครื่องใช้ไฟฟ้าและการเปรียบเทียบประสิทธิภาพในการจำแนก
dc.title.alternativeA wireless sensor network for pplince clssifiction nd its efficient clssifiction techniques
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeThis work presents a performance comparison of four classification techniques (i.e., Decision Tree, Naïve Bayes, Neuron Network, and Support Vector Machine) for appliance classification by analyzing each appliance’s electricity usage sent via a wireless sensor network. To measure and collect the actual electrical power consumed by each device, we designed sensor circuits, each of which is deployed inside each power outlet. The measured data are sent to a centralized system via a wireless sensor network (which can also be used to deliver control commands to turn on/off each appliance). The system uses the data to classify a type of each appliance connected to each of the outlet. Since this research is to be detecting electrical usage at each outlet (instead of at the main circuit as in previous works), the system can be developed further to help identifying the abnormal operation of each appliance, and to automatically recognize the device when it is moved to another outlet, making possible automatic appliance on/off control. As a result, it could promote home safety and energy savings without affecting users’ normal behaviors. Comparing the accuracies of classifying 40 electric devices using the four techniques, we found that 1) standard deviation of measured electricity usage is a necessary attribute for accurately classifying appliance states, and 2) the decision tree algorithm (i.e., J48) performs best (with the error of 1.66%).
dc.degree.levelปริญญาโท
dc.degree.disciplineเทคโนโลยีสารสนเทศ
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:วิทยานิพนธ์ (Theses)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
Fulltext.pdf5.05 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น