กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6470
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorบรรพต วิรุณราช
dc.contributor.authorบุญลดา คุณาเวชกิจ
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์
dc.date.accessioned2023-05-12T02:51:24Z
dc.date.available2023-05-12T02:51:24Z
dc.date.issued2560
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6470
dc.descriptionดุษฎีนิพนธ์ (ปร.ด.) -- มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 2 ข้อ คือ 1) เพื่อให้ได้รายวิชาและรายละเอียดวิชาที่เหมาะสมในการเรียนบริหารธุรกิจที่สามารถทําการค้าหรือลงทุนกับจีนในประเทศไทย และกลุ่มประเทศอินโดจีน 2) เพื่อให้ได้วิธีการถ่ายทอดความรู้ในการเรียนบริหารธุรกิจที่สามารถทําการค้าหรือลงทุนกับจีนในประเทศไทยและกลุ่มประเทศอินโดจีน โดยใช้การวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative research) ประกอบด้วยเทคนิคการสัมภาษณ์เชิงลึก (Indepth interview) การสนทนากลุ่ม (Focus group) และเทคนิคเดลฟาย (Delphi technique) ซึ่งในการเก็บข้อมูลเทคนิคเดลฟายนั้น ผู้วิจัยได้ทําการศึกษาผู้บริหารระดับสูงของกลุ่มบริษัทสัญชาติจีนที่ทําธุรกิจและการลงทุนในประเทศไทย จํานวน 19 ท่าน ผลการวิเคราะห์ด้วยเทคนิคเดลฟาย (Delphi technique) พบว่า ผู้เชี่ยวชาญให้ข้อเสนอแนะว่าควรมีความรู้เรื่องต่าง ๆ ของคนจีนบรรจุในหลักสูตร โดยสรุปเป็นข้อค้นพบรายวิชาที่สอดคล้องตามข้อเสนอแนะของผู้เชี่ยวชาญเป็น 32 รายวิชา ได้แก่ 1) วิชาวัฒนธรรมจีนกับการบริหารธุรกิจ 2) วิชาการจัดการทรัพยากรมนุษย์ ระหว่างประเทศ 3) วิชาการจัดการทรัพยากรมนุษย์สําหรับจีน 4) วิชาการค้าและการลงทุนในประเทศจีน 5) วิชาเศรษฐกิจการค้าระหว่างประเทศจีน 6) วิชาการจัดการยุทธศาสตร์ทางธุรกิจระหว่างประเทศ 7) วิชาตลาดและพฤติกรรมตลาดจีน 8) วิชากฎหมายกับการบริหารธุรกิจระหว่างประเทศ 9) วิชาการส่งออกและนําเข้ากับประเทศจีน 10) วิชาธุรกิจการขนส่งสินค้า 11) วิชาการเงินการธนาคารระหว่างประเทศ 12) รายวิชาองค์การและการจัดการ 13) วิชาพฤติกรรมองค์การแบบจีน 14) วิชาการจัดการผลการปฏิบัติงาน 15) วิชาการสื่อสารองค์กร 16) วิชาการบริหารนวัตกรรมด้านการจัดการทรัพยากรมนุษย์ 17) วิชาหลักการจัดการธุรกิจจีน 18) วิชาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการทรัพยากรมนุษย์ 19) วิชาภาษาจีนเพื่อการสื่อสารทางธุรกิจ 20) วิชาทฤษฎีองค์การอุตสาหกรรม 21) วิชามาตรฐานและการบริหารจัดการระหว่างประเทศ 22) วิชาคอมพิวเตอร์ภาษาจีน 23) วิชาภาวะผู้นําและการทํางานเป็นทีม 24) รายวิชาหลักการตลาด 25) วิชาการจัดการองค์การและการบริหารสําหรับจีน 26) วิชาการเงินธุรกิจ 27) วิชาการวิจัยทางธุรกิจ 28) วิชาการจัดการนวัตกรรมและข้อมูลองค์กร 29) วิชา เศรษฐศาสตร์มหาภาคจีนและประชาคมโลก 30) วิชาการจัดการเชิงกลยุทธ์ 31) วิชาหลักการบัญชี 32) วิชา จริยธรรมทางธุรกิจ และมี 17 วิชา เป็นข้อค้นพบใหม่ที่มีรายละเอียดวิชาแตกต่างจากหลักสูตรบริหารจีนทั่วไป ด้านวิธีการถ่ายทอดเพื่อให้เกิดประสิทธิผลต่อผู้เรียนมากที่สุดควรมุ่งเน้นที่การพัฒนาศักยภาพพร้อมทั้งความรู้ตามหลักสูตรและควรมีการพัฒนาทักษะชีวิตโดยใช้วิธีผสมผสาน เช่น ถ่ายทอดเนื้อหาทางวิชาการ การศึกษาจากกรณีตัวอย่าง การฝึกประสบการณ์จริง การศึกษาเรียนรู้นอกห้องเรียน เป็นต้น ผลที่ได้จากการวิจัยในครั้งนี้สามารถนําไปพัฒนาศักยภาพบุคลากรด้านบริหารธุรกิจในประเทศไทยและกลุ่มประเทศอินโดจีน เพื่อรองรับการขยายตัวการค้าการลงทุนของจีนซึ่งสอดคล้องตรงตามวัตถุประสงค์ของงานวิจัยในครั้งนี้
dc.language.isoth
dc.publisherวิทยาลัยพาณิชยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการพัฒนาองค์การและการจัดการสมรรถนะของมนุษย์
dc.subjectธุรกิจ -- การลงทุน
dc.subjectการบริหารธุรกิจ
dc.subjectธุรกิจ
dc.titleการศึกษาศักยภาพบุคลากรด้านบริหารธุรกิจในประเทศไทยและกลุ่มประเทศอินโดจีนเพื่อรองรับการขยายตัวการค้าการลงทุนของจีน
dc.title.alternativeA study of business mngement personnel’s potentil in thilnd nd indochin countries for the chinese trde nd investment expnsion
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were to develop appropriate courses and details for learning business administration to do business or invest with the Chinese businessmen in Thailand and Indochina countries and study ways to transmit the knowledge on business administration to cooperate with the Chinese investors in Thailand and Indochina countries. The 19 participants were businessmen and executives of the Chinese corporations in Thailand. The data were collected by using an in-depth interview, focus group, and Delphi technique. The results of Delphi technique indicated that the curriculum should include issues about the Chinese. In addition, the experts suggested 32 courses: 1) Chinese culture and business administration, 2) international human resource management, 3) human resource management for the Chinese, 4) trade and investment in China, 5) business economics with the Chinese, 6) international business strategy management, 7) marketing and Chinese market behaviors, 8) international laws and business management, 9) imports and exports with the Chinese, 10) freight businesses, 11) international finance and banking, 12) organizations and management, 13) Chinese organizational behaviors, 14) performance management, 15) organizational communication, 16) human resource innovation management, 17) principles of Chinese business management, 18) information technology for human resource management, 19) the Chinese language for business communication, 20) industrial organization theories, 21) international standards and management, 22) computer in the Chinese language, 23) leadership and teamwork, 24) marketing principles, 25) organizational management and administration for the Chinese, 26) business financial management, 27) research in business, 28) organization’s innovation and information management, 29) world and Chinese macroeconomics, 30) strategic management, 31) principles of accounting, and 32) business ethics. Seventeen out of the 32 courses were new and different from common Chinese management curriculum. In terms of the ways to transmit the knowledge to the personnel, there should be an integration of a variety of methods: content-based learning, case study, internship, and onsite field trips in order to embrace desirable Chinese characteristics on life skills, diligence, perseverance, honesty, sincerity, ability to build networks, and creative thinking for business innovation. Therefore, the results of this research can be used to improve personnel at an undergraduate degree in Thailand and Indochina countries to meet the expansion of Chinese investment.
dc.degree.levelปริญญาเอก
dc.degree.disciplineการพัฒนาองค์การและการจัดการสมรรถนะของมนุษย์
dc.degree.nameปรัชญาดุษฎีบัณฑิต
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:วิทยานิพนธ์ (Theses)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
Fulltext.pdf8.19 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น