กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6453
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ชำนาญ งามมณีอุดม | |
dc.contributor.advisor | ทักษญา สง่าโยธิน | |
dc.contributor.author | เอกชัย อิ่มอุไร | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2023-05-12T02:51:20Z | |
dc.date.available | 2023-05-12T02:51:20Z | |
dc.date.issued | 2560 | |
dc.identifier.uri | https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6453 | |
dc.description | งานนิพนธ์ (บธ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560 | |
dc.description.abstract | การศึกษาวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัญหาและแนวทางการจัดการปัญหาเรื่อง ร้องเรียนระบบการบริหารจัดการน้ำ ประปา เพื่อนำแนวทางการแก้ไขมาปรับปรุงกระบวนแก้ไข เรื่องร้องเรียนระบบการบริหารจัดการน้ำประปาของนิคมอุตสาหกรรมแห่งหนึ่งในจังหวัดระยอง งานวิจัยในครั้งนี้เป็นเชิงคุณภาพ (Qualitative) ปฏิบัติ (Action) เชิงปริมาณ (Quantitative)โดยมีกลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ใช้น้ำในนิคมอุตสาหกรรมแห่งหนึ่งในจังหวัดระยอง จำนวน 1 กลุ่ม และเป็นผู้ปฏิบัติการรับเรื่องร้องเรียน จำนวน 1 กลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูลเป็นการสัมภาษณ์กลุ่ม (Focus group interview) ผลการวิจัย ผลการการทดสอบความแตกต่างก่อนการปรับปรุงแนวทางการการจัดการ เรื่องร้องเรียนมีค่า Χ เท่ากับ 3.67 มีค่า t-test เท่ากับ 2.49 ปัญหาที่กลุ่มตัวอย่างได้ความสำคัญในการร้องเรียนในระบบบริหารจัดการน้ำประปามีเรื่องแรงดันน้ำประปาคุณภาพน้ำประปาและการระบายน้ำเสีย ช่องทางการร้องเรียนที่สะดวกและสามารถติดต่อผู้บัติการรับเรื่องร้องเรียน รวดเร็วคือ ทางโทรศัพท์แต่การใช้ช่องทางแอพลิเคชั่นไลน์ยังไม่เป็นที่รู้จักมากนัก การเข้าตรวจสอบปัญหาร้องเรียนยังมีการอธิบายปัญหาและสาเหตุไม่ชัดเจน การแก้ไขเรื่องร้องเรียน ประสบปัญหาล่าช้าและการไม่แจ้งความคืบหน้าการแก้ไขให้ลูกค้าทราบ ปัญหาที่การป้องกันการเกิดซ้ำ ยังไม่มีความชัดเจนในการดำเนินการได้น้ำ ปัญหาจากกลุ่มตัวอย่างผู้ใช้น้ำมาวิเคราะห์ หาสาเหตุกับกลุ่มตัวอย่างโดยใช้แผนภูมิก้างปลาได้ปัจจัยที่ทำให้เกิดเรื่องร้องเรียนดังนี้ 1) ด้านผู้ร้องเรียน 2) ด้านเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการ 3) ด้านการสื่อสาร 4) ด้านการจัดเก็บข้อมูล 5) ด้านการแก้ไข เรื่องร้องเรียน และนำมาหาแนวทางการจัดการเรื่องร้องเรียน ผลการการทดสอบความแตกต่างหลัง การปรับปรุงแนวทางการการจัดการเรื่องร้องเรียนมีค่า Χ เท่ากับ 1.88 มีค่า t-test เท่ากับ 4.84 สรุป ได้ว่า เมื่อการนำแนวทางการจัดการเรื่องร้องเรียนใหม่ไปปฏิบัติสามารถลดปริมาณเรื่องร้องเรียนได้จากการลดปัจจัยที่ก่อให้เกิดการร้องเรียน โดยการให้ข้อมูลข่าวสารที่ถูกต้องให้กับลูกค้าผู้ใช้น้ำช่วยลดความซับซ้อนในการร้องเรียนที่เกิดขึ้น และการแก้ไขเรื่องร้องเรียนที่มีประสิทธิภาพ | |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.rights | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.subject | อุตสาหกรรมการเกษตรและเทคโนโลยีชีวภาพ | |
dc.subject | เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (อีอีซี) | |
dc.subject | มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาบริหารธุรกิจ สำหรับผู้บริหาร | |
dc.subject | น้ำประปา -- การจัดการ | |
dc.title | การศึกษาแนวทางการจัดการปัญหาระบบการบริหารจัดการน้ำประปาของนิคมอุตสาหกรรมแห่งหนึ่งในจังหวัดระยอง | |
dc.title.alternative | A study of the wter supply mngement of n industril estte in ryong province | |
dc.type | วิทยานิพนธ์/ Thesis | |
dc.description.abstractalternative | The present study aims to examine problems and seek for solutions for the complaints about water treatment management. The results were used to improve about water treatment management in the industrial estate in Rayong. This is a qualitative study with quantitative data analysis. Sample group included a group of water users in an industrial Estate in Rayong and a group of officers who received complaints. A focus group interview was conducted to collect data. The findings on pre-improvement showed that the mean was 3.67and t-test was 2.49. The problems about water supply included pressure of water supply, quality of water supply, and sewerage. The convenient channel to give complaints was by phone. The line application was not widely known. The explanation for the source of problem was unclear. The problems were solved quite slowly. There were many times that the customers were not informed about the process. There was no prevention for the same problems in the future. The water users’ complaints were analyzed by creating the fishbone diagram. The findings showed that the factors affecting the complaints included 1) customers who give complaints, 2) operational staff, 3) communication, 4) information management, and 5) complaint management. After the improvement of complaint management was done, the mean reduced to 1.88and t-test reduced to 4.84. When the correct factors were managed well, the numbers of complaints reduced. Giving correct information to water supply users helps reduce repeated complaints. It is the efficient solution for the complaint management. | |
dc.degree.level | ปริญญาโท | |
dc.degree.discipline | บริหารธุรกิจ สำหรับผู้บริหาร | |
dc.degree.name | บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต | |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | วิทยานิพนธ์ (Theses) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
Fulltext.pdf | 2.55 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น