กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6432
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ณภัคอร ปุณยภาภัสสรา | |
dc.contributor.author | ปภัสมน จันทิมา | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2023-05-12T02:51:16Z | |
dc.date.available | 2023-05-12T02:51:16Z | |
dc.date.issued | 2560 | |
dc.identifier.uri | https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6432 | |
dc.description | งานนิพนธ์ (บธ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560 | |
dc.description.abstract | การศึกษาเรื่องประสิทธิภาพของระบบตรวจปล่อยสินค้าล่วงหน้า (Pre-arrival processing system) ในท่าเรือแหลมฉบัง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากระบวนการของระบบตรวจปล่อยสินค้าล่วงหน้า ศึกษาสภาพปัญหาของระบบตรวจปล่อยสินค้าล่วงหน้า ศึกษาประสิทธิภาพของระบบตรวจปล่อยสินค้าล่วงหน้า เป็นการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพ โดยใช้วิธีสัมภาษณ์แบบเชิงลึก (In-depth interview) ใช้คําถามกึ่งโครงสร้าง เป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล ซึ่งคําถามแบ่งออกเป็ น 4 กลุ่ม คือ 1) ตัวแทนเรือ 2) ผู้ประกอบการท่าเรือ 3) เจ้าหน้าที่ศุลกากร 4) ตัวแทนออกของข้อมูลที่ได้จากการสัมภาษณ์วิเคราะห์โดยกระบวนการเชิงคุณภาพ ผลการศึกษาพบว่า ระบบตรวจปล่อยสินค้าล่วงหน้า (Pre-arrival processing systems) ในท่าเรือแหลมฉบัง หรือการดําเนินกระบวนการทางศุลกากรล่วงหน้าก่อนสินค้ามาถึงท่าเรือ แหลมฉบังไม่มีประสิทธิภาพ เนื่องจากยังไม่สามารถบรรลุวัตถุประสงค์ขอข้อตกลงว่าด้วยการอํานวยความสะดวกทางการค้าขององค์การการค้าโลก ซึ่งต้องการช่วยอํานวยความสะดวกให้กับผู้ประกอบการลดระยะเวลาและขั้นตอนการปฏิบัติพิธีการศุลกากรในบางขั้นตอนของกระบวนการระบบตรวจปล่อยสินค้าล่วงหน้ามีระยะเวลาในการดําเนินการเพิ่มมากขึ้น ค่าใช้จ่ายในการแก้ไขข้อมูลเพิ่มสูงขึ้น อีกทั้งยังส่งผลกระทบต่อระบบอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องซึ่งไม่สะดวกต่อการเข้าใช้งาน ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศไม่ครอบคลุมในสถานที่มีการให้บริการ ควรให้เจ้าหน้าที่ที่ดูแลรับผิดชอบความมีความรู้และความชํานาญในการให้ข้อมูลและคําแนะนําแก่หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ควรมีการประชาสัมพันธ์โครงการอย่างต่อเนื่องเพื่อให้ทุกองค์กรและหน่วยงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง เกิดความเข้าใจกระบวนการดําเนินการโครงการระบบตรวจปล่อย ต้องมีแผนฉุกเฉินรองรับใน กรณีที่ระบบเกิดปัญหาในระหว่างการให้บริการ หรือเกิดระบบล่ม เพื่อป้องกันความเสียหายที่อาจจะเกิดขึ้นกับสินค้าของผู้นําเข้า ควรแก้ไขและพัฒนาระบบด้วยนวัตกรรมและเทคโนโลยีให้สะดวกต่อการใช้งานและเข้าใจได้ง่าย | |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.rights | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.subject | ศุลกากร | |
dc.subject | มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการจัดการธุรกิจโลก | |
dc.title | ประสิทธิภาพของระบบตรวจปล่อยสินค้าล่วงหน้า (Pre-arrival processing system) ในท่าเรือแหลมฉบัง | |
dc.title.alternative | Pre-rrivl processing system) ในท่าเรือแหลมฉบัง (efficiency of pre-rrivl processing system in lem chbng port | |
dc.type | วิทยานิพนธ์/ Thesis | |
dc.description.abstractalternative | This research titled "Efficiency of pre-arrival processing system in Leam Chabang Port" attempts to study process of pre-arrival processing system, to study problems of pre-arrival processing system, and to study efficiency of pre-arrival processing system. This qualitative study applied in-depth interview with semi-structured questions as a research tool to collect the data. Questions were divided into four categories: 1) ship agents, 2) terminal operator, customs officers, 4) customs brokers. Data obtaining from interviews were analyzed with qualitative process. The findings reveal that pre-arrival processing system in Leam Chabang port or the operation of the customs process before products landed in Leam Chabang were inefficient since the objectives on the agreement about trade facilitation regarding to World Trade Organization did not achieve. The agreement required the port to facilitate to the port uses, reduce time and customs process. Some steps of pre-arrival processing system consumed more time, more expenses to edit information, and affect to other related systems that could consider obstacles for usage. Information technology system did not cover all service area. The responsible officer should have knowledge and expertise in inserting information and providing suggestions to related sectors. In addition, there should be the public relation of the project continuously to encourage all organizations and sectors to understand in pre-arrival processing system. There should be an alternative plan for emergency case when there are the problems on service or the system is down. This is to prevent the damages that might exist to products. There should be an adjustment and improvement of the system with user-friendly innovation and technology. | |
dc.degree.level | ปริญญาโท | |
dc.degree.discipline | การจัดการธุรกิจโลก | |
dc.degree.name | บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต | |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | วิทยานิพนธ์ (Theses) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
Fulltext.pdf | 1.06 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น