กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6409
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ศักดิ์ชาย จันทร์เรือง | |
dc.contributor.author | วิภา อรรถจารุสิทธิ์ | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2023-05-12T02:47:41Z | |
dc.date.available | 2023-05-12T02:47:41Z | |
dc.date.issued | 2560 | |
dc.identifier.uri | https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6409 | |
dc.description | งานนิพนธ์ (บธ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560 | |
dc.description.abstract | งานวิจัยนี้ได้ศึกษาการวิเคราะห์ความเป็นไปได้ของการทำนาสองน้ำ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาต้นทุนและผลตอบแทนของการทำนาสองน้ำ และศึกษาความเป็นไปได้ของการทำนาสองน้ำ เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาเป็นแบบสัมภาษณ์ เพื่อใช้ในการวิเคราะห์ประมาณการต้นทุนและผลตอบแทนของโครงการโดยใช้เกณฑ์วัดความคุ้มค่าการลงทุน ประกอบด้วยกระแสเงินสด มลูค่าปัจจุบันสุทธิ อัตราผลตอบแทนต่อต้นทุน อัตราตอบแทนภายในโครงการระยะเวลาคืนทุนและความไวต่อการเปลี่ยนแปลง ผลการศึกษาพบว่า มูลค่าปัจจุบันสุทธิของโครงการปลูกข้าว มีค่าเท่ากัย 134,770.09 บาท และมูลค่าปัจจุบัน สุทธิของโครงการเลี้ยงกุ้งขาว มีค่าเท่ากัย 1,422,227.25 บาท ซึ่งมีค่าเป็นบวกแล มีค่ามากกว่า ศูนย์อัตราผลตอบแทนภายในโครงการปลูกข้าว มีค่าเท่ากับร้อยละ 42 และอัตราผลตอบแทนภายในโครงการเลี้ยงกุ้งขาว มีค่าเท่ากับร้อยละ 42 ซึ่งมีค่ามากกว่าอัตราดอกเบี้ยที่กำหนดไว้คือ ร้อยละ 8.73 อัตราส่วนของผลตอบแทนต่อต้นทุนของโครงการปลูกข้าว เท่ากับ 1.62และอัตราส่วนของผลตอบแทนต่อต้นทุนของโครงการเลี้ยงกุ้งขาวเท่ากับ 1.34 ซึ่งมีค่ามากกว่า 1 จากเกณฑก์ารวัดความคุ้มค่า ดังกล่าว แสดงว่า โครงการทำนาสองน้ำ มีความคุ้มค่าในการลงทุน ผลการวิเคราะห์ความไวต่อการเปลี่ยนแปลงกรณีการกู้ยืมเงินมาลงทุนโครงการในอัตรา ร้อยละ 9, 10, 11, 12, 13, 14 และ 15 กรณีนาข้าวสามารถดำเนินการได้เพราะคุ้มทุน แต่กรณีนากุ้งไม่สามารถลงทุนได้เพราะค่า IRR ติดลบ โอกาสไม่คุ้มค่าในการลงทุนสูงเพราะค่า BCR ใกล้ 1 มาก กรณีราคาข้าวลดลงต่ำกว่าราคา 7.50 บาท ไม่สามารถลงทุนได้เพราะค่า IRR ต่ำกว่า 8.73 และติดลบลงเรื่อย ๆ และโอกาสไม่คุ้มค่าในการลงทุนสูงเพราะค่า BCR ใกล้ 1 มากและกรณีค่าแรงงานเพิ่มขึ้นในอัตราค่าแรงงาน 350 และ 400 ขณะที่ผลตอบแทนของโครงการและค่าใช้จ่ายในการลงทุนคงที่ กรณีนาข้าวและกรณีนากุ้งสามารถดำเนินการได้เพราะคุ้มทุน เพราะค่า IRR สูงกว่า 8.73 และระยะเวลา คืนทุนสั้น ข้อเสนอแนะการลงทุนในโครงการทำนาสองน้ำ มีความเป็นไปได้ในการลงทุน เนื่องจากมูลค่าปัจจุบัน สุทธิของโครงการมีค่าเป็นบวกและมีค่ามากกว่าศูนย์อัตราผลตอบแทนภายในโครงการ มีค่ามากกว่าอัตราคิดลดของโครงการู้ที่สนใจลงทุนโครงการลักษณะดังกล่าวสามารถลงทุนได้ในสถานการณ์ปกติแต่ควรเปรียบเทียบผลตอบแทนของโครงการอื่นประกอบการตัดสินใจด้วย | |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.rights | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.subject | การทำนาปรัง | |
dc.subject | มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการบัญชีบริหาร | |
dc.subject | การทำนา | |
dc.title | การวิเคราะห์ความเป็นไปได้ของการทำนาสองน้ำ | |
dc.title.alternative | The fesibility study of rice nd shrimp dul frming | |
dc.type | วิทยานิพนธ์/ Thesis | |
dc.description.abstractalternative | This research has the objective to study the feasibility of rice and shrimp dual farming by studying its costs and return. Interviews were used as a tool for data collection. Data analyses to assess the feasibility of the project include cash flows, Net Present Value (NPV), Benefit-toCost Ratio (BCR), Internal Rate of Return (IRR), Payback Period (PB), and sensitivity analysis. This study finds that the rice farming’s NPV is 134,770.09 Baht and the white shrimp farming’s NPV is 1,422,227.25 Baht, both of them are positive and greater than 1. The IRR of rice farming is 42%, and the IRR of white shrimp farming is 42%, both are greater than the set IRR of 8.73%. The BCR of rice farming is 1.62, and the BCR of white shrimp farming is 1.34, both are greater than 1. According to these investment evaluation criteria, this project is worth investing. The sensitivity analysis shows that if the discount rate changes to 9%, 10%, 11%, 12%, 13%, 14%, and 15%, rice farming still is worth investing, while white shrimp farming is not because its IRR is negative, and BCR is very close to 1. If rice price is under 7.50 Baht, this project is not feasible because the IRR is lower than 8.73% and declines further, the BCR is very close to 1. And if the labor costs 350 and 400 Baht, while revenues and investment costs stay the same, both rice farming and white shrimp farming are still worth investing because the IRRs are greater than 8.73% and the Payback Periods are short. This study recommends that the rice and white shrimp dual farming is worth investing because the NPV is positive and greater than 0, IRR is greater than the project’s discount rate. However, interested investors can invest in this kind of project under normal circumstances but they should compare the return of this project with those of other projects as well. | |
dc.degree.level | ปริญญาโท | |
dc.degree.discipline | การบัญชีบริหาร | |
dc.degree.name | บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต | |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | วิทยานิพนธ์ (Theses) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
Fulltext.pdf | 6.7 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น