กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6400
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | อำนาจ สาลีนุกุล | |
dc.contributor.advisor | ทักษญา สง่าโยธิน | |
dc.contributor.author | กนกวรรณ รุ่งรวีพิริยะกิจ | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2023-05-12T02:47:39Z | |
dc.date.available | 2023-05-12T02:47:39Z | |
dc.date.issued | 2560 | |
dc.identifier.uri | https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6400 | |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (บธ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560 | |
dc.description.abstract | การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนาตำแหน่งผลิตภัณฑ์ดอกไม้การบูรของโรงเรียนบ้านป้องกัน ตนเองด่านชุมพล 2) เพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนาการสร้างความแตกต่างผลิตภัณฑ์ดอกไม้การบูรของโรงเรียนบ้านป้องกัน ตนเองด่านชุมพล 3) เพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนาการรับรู้แบรนด์ตาม Model 3I ผลิตภัณฑ์ดอกไม้การบูรของโรงเรียนบ้านป้องกันตนเองด่านชุมพล 4) เพื่อศึกษาห่วงโซ่คุณค่า (Value chain) ของผลิตภัณฑ์ที่ใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ดอกไม้การบูรโรงเรียนบ้านป้องกันตนเอง ด่านชุมพล 5) เพื่อทดสอบการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ดอกไม้การบูรของโรงเรียนบ้านป้องกันตนเองด่านชุมพล โดยงานวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงแบบผสมผสานวิธี (Mixed method) มีทั้งเชิงคุณภาพแบบสนทนากลุ่มและแบบการสัมภาษณ์ และเชิงปฏิบัติการ ผลการวิจัย พบว่า 1) การกำหนดตำแหน่งผลิตภัณฑ์ด้านลักษณะควรมีแบบมีสีสันหลากหลาย มีขนาดเหมาะสม ด้านราคาผู้บริโภคทุกระดับซื้อได้ราคาไม่แตกต่างกับคู่แข่ง ด้านการนำไปใช้เพื่อดับกลิ่นที่ไม่พึงประสงค์และจากหลาย ๆ ปัจจัยรวมกันในการกำหนดตำแหน่งผลิตภัณฑ์ควรมีรูปแบบสวยงาม หอมสดชื่นจากกลิ่นการบูรและมีราคาเหมาะสมกับคุณภาพผลิตภัณฑ์ 2) การสร้างความแตกต่างของผลิตภัณฑ์ด้านความแตกต่างผลิตภัณฑ์คงกลิ่นการบูรไว้เพิ่มรูปแบบดอกไม้ด้านความแตกต่างช่องทางการจัดจำหน่ายใช้ช่องทางออนไลน์ในการจัดจำหน่ายและด้านภาพลักษณ์แสดงถึงผลิตภัณฑ์ที่ผลิตโดยนักเรียน 3) การรับรู้แบรนด์ตาม Model 3I อัตลักษณ์ของผลิตภัณฑ์สื่อถึงดอกไม้ประดิษฐ์ที่ให้ความหอมสดชื่น ภาพลักษณ์ของผลิตภัณฑ์แสดงถึงผลิตภัณฑ์โรงเรียนที่ผลิตโดยนักเรียน และคุณค่าที่แท้จริงของผลิตภัณฑ์คือเป็นการส่งเสริมให้นักเรียนมีรายได้ในส่วนของกระบวนการห่วงโซ่คุณค่าของผลิตภัณฑ์ดอกไม้การบูรโรงเรียน บ้านป้องกันตนเองด่านชุมพลในด้านกิจกรรมหลัก พบว่า ผู้ผลิตต้องการงบประมาณสนับสนุนในการผลิต มีนักเรียนเป็นแรงงานในการผลิตโดยมีครูที่มีฝีมือเป็นผู้ดูแลในการบรรจุภัณฑ์จะใช้เป็นถุงแก้วใสให้เห็นผลิตภัณฑ์มีการประชาสัมพันธ์โดยมุ่งเน้นว่าผลิตภัณฑ์ที่มาจากฝีมือนักเรียน เริ่มจำหน่ายตามร้านค้าในชุมชน งานตราดรำลึกและช่องทางออนไลน์ก่อน ในด้านกิจกรรมสนับสนุน พบว่า ผู้ผลิตมีการจัดซื้อวัตถุดิบจากร้านเครื่องเขียนในตัวเมืองตราด ได้มีการนำเทคโนโลยีด้านอินเตอร์เน็ตมาช่วยในการพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ์มีนักเรียนภายในโรงเรียนเป็นแรงงานในการผลิต โดยมีครูเป็นผู้อบรมและสอนทำ และเพื่อให้นักเรียนมีรายได้ จะมีการแบ่งเปอร์เซ็นตจ์ากกำไรที่ได้จากการขายและผลการทดลองจำหน่าย พบว่า ผลิตภัณฑ์ดอกไม้การบูรของโรงเรียนบ้านป้องกันตนเองด่านชุมพล สามารถขายได้จริงตามร้านค้าในชุมชน ทางสื่อออนไลน์รวมไปถึง กลุ่มผู้บริโภคที่เคยใช้ผลิตภัณฑ์อยู่แล้ว | |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.rights | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.subject | ดอกไม้ -- กลิ่น | |
dc.subject | มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาบริหารธุรกิจ สำหรับผู้บริหาร | |
dc.subject | ผลิตภัณฑ์ดอกไม้ | |
dc.title | แนวทางการพัฒนาผลิตภัณฑ์ดอกไม้การบูรของโรงเรียนบ้านป้องกันตนเองด่านชุมพล ตำบลด่านชุมพล อำเภอบ่อไร่ จังหวัดตราด | |
dc.title.alternative | The pproches to developing of cmphor flower product for bn pong gn ton eng dn chumphon school, dnchompon sub-district, bori district, trt province | |
dc.type | วิทยานิพนธ์/ Thesis | |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this study were 1) to study approaches to develop product positioning of camphor flower product for Ban Pong Gan Ton Eng Dan Chumpon School. 2) to study approaches to develop product differentiation of camphor flower product for Ban Pong Gan Ton Eng Dan Chumpon School. 3) to study approaches to develop Model 3I brand recognition of camphor flower product for Ban Pong Gan Ton Eng Dan Chumpon School. 4) to study approaches to develop value chain of camphor flower product for Ban Pong Gan Ton Eng Dan Chumpon School. and 5) to experiment the distribution of camphor flower product for Ban Pong Gan Ton Eng Dan Chumpon School. This study was carried out as mixed method including focus group, interview, and workshop. The results of this study were showed as follows: 1) Brand positioning–the product should have more colors and appropriate sizes, the price should be affordable and close to the market, application is used for smell repellent. All mentioned factors concluded that the product should have good design, affordable price, and nice quality. 2) Product Differentiation–the product should maintain its floral scent smell, open to online customers, and address the product made by students. 3) Model 3I Brand Recognition–the product represents artificial flower with floral scent, made by students and teachers, and the core value is income distribution to everyone in the school. The value chain was found that the manufacturer needed funding and skilled teachers were production controller. The packaging needed to be clean and clear. The public relation started with the students and distribution place was supermarkets, online, and small retail shops in the community. The manufacturer gained support from stationery, online, skilled teachers to increase students’ income and skill. The result showed that Camphor flower product can be sold through retail shop and online shops including experienced customers. | |
dc.degree.level | ปริญญาโท | |
dc.degree.discipline | บริหารธุรกิจ สำหรับผู้บริหาร | |
dc.degree.name | บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต | |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | วิทยานิพนธ์ (Theses) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
Fulltext.pdf | 4.38 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น