กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6398
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorภัทรี ฟรีสตัด
dc.contributor.advisorชนิสรา แก้วสวรรค์
dc.contributor.authorสาวิตรี แก้วมณี
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์
dc.date.accessioned2023-05-12T02:47:39Z
dc.date.available2023-05-12T02:47:39Z
dc.date.issued2560
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6398
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (บธ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษาปัจจัยส่วนบุคคลที่ส่งผลต่อการตัดสินใจเข้าศึกษาต่อหลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สำหรับผู้บริหารระดับต้น วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์ 2. เพื่อศึกษาเครื่องมือประชาสัมพันธ์การตลาด (MPR) ที่ส่งผลต่อการตัดสินใจเข้าศึกษาต่อหลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สำหรับผู้บริหารระดับต้น วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์ 3. เพื่อศึกษาสื่อประชาสัมพันธ์ที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจเข้าศึกษาต่อหลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สำหรับผู้บริหารระดับต้น วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์ กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ปฏิบัติงานในนิคมอุตสาหกรรม จำนวน 4 นิคมที่ตั้งอยู่ในอำเภอเมืองศรีราชา จังหวัดชลบุรี และสัมภาษณ์ผู้บริหารโรงงานและบริษัทเอกชนรวม 20 คน เครื่องมือการวิจัยคือแบบสอบถาม และแบบสัมภาษณ์ที่ผ่านการหาคุณภาพด้านความตรงและความเชื่อมั่น โดยมีการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรมสำเร็จรูป SPSS for windows สถิติการแจงนับความถี่ร้อยละค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน วิเคราะห์ความแปรปรวนของตัวแปร (One-way ANOVA) และทดสอบความสัมพันธ์ของตัวแปร (Multiple linear regression) ผลการวิจัย พบว่า ตัวแปรที่ส่งผลต่อการตัดสินใจเข้าศึกษาต่อหลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สำหรับผู้บริหารระดับต้น อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติได้แก่ อาชีพ เครื่องมือประชาสัมพันธ์ ทางการตลาด (MPR) ประเภทสื่อสิ่งพิมพ์สื่อประชาสัมพันธ์ประเภทสื่อวิทยุ สื่อออนไลน์; เว็บไซต์ เฟซบุ๊ค และสื่อบุคคล; ศิษย์ปัจจุบัน ศิษย์เก่า โดยเครื่องมือประชาสัมพันธ์การตลาด (MPR) สื่อวิทยุ สื่อออนไลน์และสื่อบุคคล มีค่าสัมประสิทธิ์การพยากรณ์เท่ากับ .20 .11 .16 และ .24 ตามลำดับ
dc.language.isoth
dc.publisherวิทยาลัยพาณิชยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectการศึกษาต่อเนื่อง -- การตัดสินใจ
dc.subjectการศึกษาต่อเนื่อง
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการบริหารประชาสัมพันธ์และสื่อสารมวลชน
dc.titleสื่อประชาสัมพันธ์ที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกศึกษาต่อในหลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตสำหรับผู้บริหารระดับต้น วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.title.alternativePublic reltions medi ffecting students' decision mking to study t grdute school of commerce burph university
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeThis research attempts 1. to studypersonal factors influencing decision making to further study to master of business administration program for young executive, 2. to study marketing public relations instrument (MPR) influencingdecision making to further study to master of business administration program for young executive, 3. to study public relations media influencing decision making to further study to master of business administration program for young executive. The subjects were 20 employees who are administratorsof factory or private company in four industrial estates located in Si Racha District, Chon Buri Province. Instruments in this study included interviews that have passed validity and reliability tests. The data obtained were analyzed with SPSS for Windows to find frequency, percentage, average, standard deviation, One-Way ANOVA, and Multiple Linear Regression. The findings reveal that variables influencing decision making to study master of business administration program for young executive at the statistically significant level included occupations, marketing public relation media in the types of printing, radio, online, websites, facebook as well as personal media consisting of current students and alumni through marketing public relation media. Radio, online media, and personal media earned the r-squared values of .20, .11, .16 and .24, respectively.
dc.degree.levelปริญญาโท
dc.degree.disciplineการบริหารประชาสัมพันธ์และสื่อสารมวลชน
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:วิทยานิพนธ์ (Theses)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
Fulltext.pdf5.1 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น