กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6382
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorชนิสรา แก้วสวรรค์
dc.contributor.authorภัทรพงษ์ โต๊ะจงมล
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์
dc.date.accessioned2023-05-12T02:47:36Z
dc.date.available2023-05-12T02:47:36Z
dc.date.issued2560
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6382
dc.descriptionงานนิพนธ์ (บธ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยการเรียนรู้ทางปัญญาสังคม และพฤติกรรมการทำงานที่มีความรับผิดชอบเพื่อสังคมของบุคลากร บริษัท อีเลคโทรลักซ์ ประเทศไทย จำกัด กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยครั้งนี้เป็นบุคลากรของบริษัท อีเลคโทรลักซ์ ประเทศไทย จำกัด ทุกแผนก จำนวน 324 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วยแบบสอบถามข้อมูลทั่วไปของบุคลากร ปัจจัยการเรียนรู้ทางปัญญาสังคม และพฤติกรรมการทำงานที่มีความรับผิดชอบเพื่อสังคม การวิเคราะห์ข้อมูลใช้โปรแกรม SPSSfor Windows ในการวิเคราะห์ค่าสถิติพื้นฐาน และหาความสัมพันธ์โดยใช้สถิติการวิเคราะห์ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการวิจัยปรากฏว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีอายุ 18-29 ปี มีระยะเวลา ปฏิบัติงานต่ำกว่า 5 ปีสถานภาพโสด และมีลักษณะงานปฏิบัติการโรงงาน ปัจจัยการเรียนรู้ทางปัญญาสังคมของผู้ตอบแบบสอบถามที่เป็นบุคลากรของบริษัท อีเลคโทรลักซ์ ประเทศไทย จำกัด โดยภาพรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับดีมากโดยประกอบด้วย 6 ด้าน คือ ด้านจิตสาธารณะ ด้านเจตคติที่ดีต่อความรับผิดชอบเพื่อสังคม ด้านความซื่อสัตย์และความรับผิดชอบ ด้านการรับรู้นโยบาย ความรับผดิชอบเพื่อสังคม มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับดีมาก ส่วนด้านการมีตัวแบบอย่างที่ดีและด้านการสนับสนุนทางสังคมจากหัวหน้ามีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับดี ตามลำดับ ต่อมาพฤติกรรมการทำงานที่มีความรับผิดชอบเพื่อสังคมของผู้ตอบแบบสอบถามที่เป็นบุคลากรของบริษัท อีเลคโทรลักซ์ ประเทศไทย จำกัด โดยภาพรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับดีมาก โดยประกอบด้วย 3 ด้าน คือ ด้านความรับผิดชอบต่อผู้บริโภค ด้านการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับดีมากและด้านการร่วมพัฒนาชุมชนและสังคม มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับดี ตามลำดับ ส่วนด้านความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยทางจิตสังคมกับพฤติกรรมการทำงานเพื่อสังคมอยู่ในระดับปานปานกลางข้อเสนอแนะการพัฒนาพฤติกรรมการทำงานที่มีความรับผิดชอบต่อสังคมควรเพิ่มปัจจัยการสร้างตัวแบบที่ดีในการทำงานกับพนักงานจะส่งผลให้พนักงานมีพฤติกรรมการทำงานที่มีความรับผดิชอบต่อสังคม
dc.language.isoth
dc.publisherวิทยาลัยพาณิชยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการจัดการสาธารณะ
dc.subjectพนักงานบริษัท
dc.subjectความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์การธุรกิจ
dc.subjectอาสาสมัครในงานบริการสังคม
dc.titleปัจจัยการเรียนรู้ทางปัญญาสังคมที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมการทำงานเพื่อสังคมของบุคลากร บริษัท อีเลคโทรลักซ์ ประเทศไทย จำกัด
dc.title.alternativeSocil cognitive lerning fctors contributing to corporte socil behviors of personnel in Electrolux Co., Ltd.
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeThis study attempts to study social cognitive learning factors, corporate social behavior of personnel in Electrolux Co, Ltd. The subjects in this study were 324 employees from all departments of Electrolux Co, Ltd. whilst the research instrument was questionnaires asking for general information, social cognitive learning factors, and corporate social behavior. SPSS for Windows was applied to analyze for basic statistics and to find relationship using Pearson correlation analysis. The findings reveal that the majority of the respondents were females, were in the age of 18-29 years old, had work experience of less than 5 years, were single, and worked in operational sector. The social cognitive learning factors of respondents who were employees from all departments of Electrolux Co, Ltd. were at very high level in overall of six factors including public mind, good attitude toward social responsibility, honesty, responsibility on policy acknowledgement. The role model and social support from superior workers were at the high level. Corporate social behavior of respondents were also at the very high level in overall. The three factors included responsibility for consumers in aspect of environment care was at very high level, corporation to develop community and society aspect was at high level, relationship between social mind and corporate social behavior was at the moderate level. The suggestions on developing corporate social behavior that it should increase good role model factors can influence employees who are responsible for corporate social behavior to gain more organizational commitment.
dc.degree.levelปริญญาโท
dc.degree.disciplineการจัดการสาธารณะ
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:วิทยานิพนธ์ (Theses)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
Fulltext.pdf2.1 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น