กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6364
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | กฤช จรินโท | |
dc.contributor.author | พัชญ์สุพิญญา คำพา | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2023-05-12T02:44:09Z | |
dc.date.available | 2023-05-12T02:44:09Z | |
dc.date.issued | 2560 | |
dc.identifier.uri | https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6364 | |
dc.description | งานนิพนธ์ (บธ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560 | |
dc.description.abstract | การศึกษาครั้งนี้มีจุดประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยด้านประชากรศาสตร์ที่มีผลต่อความคาดหวังและการรับรู้คุณภาพบริการทางการแพทย์ของผู้ป่วยนอกโรงพยาบาล ABC และเปรียบเทียบระดับความคาดหวังและการรับรู้คุณภาพการบริการทางการแพทย์ของผู้ป่วยนอก โรงพยาบาล ABC รวมถึงวิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลต่อความพึงพอใจในการบริการของแผนกผู้ป่วยนอกโรงพยาบาล ABC กลุ่มตัวอย่างในการวิจัย คือ ผู้ที่มาใช้บริการที่แผนกผู้ป่วยนอกโรงพยาบาล ABC จำนวน 400 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วยแบบสอบถามด้านปัจจัยส่วนบุคคลของกลุ่มตัวอย่าง ด้านความคาดหวังและการรับรู้บริการและด้านความพึงพอใจของคุณภาพบริการการ วิเคราะห์ข้อมูลใช้โปรแกรมสถิติสำเร็จรูปทางคอมพิวเตอร์ในการวิเคราะห์ค่าสถิติพื้นฐาน ผลการวิจัยพบว่า 1) ข้อมูลส่วนบุคคลด้านอายุระดับการศึกษาอาชีพ รายได้ต่อเดือน แผนกที่ใช้บริการที่แตกต่างกันจะมีความคาดหวังในคุณภาพบริการที่แตกต่างกัน ส่วนลักษณะส่วนบุคคลทางด้านเพศ สถานภาพ ที่แตกต่างกัน ทำให้มีความคาดหวังในคุณภาพบริการ ไม่แตกต่างกัน 2) ข้อมูลส่วนบุคคลด้านเพศ อาชีพ รายได้ต่อเดือน แผนกที่ใช้บริการที่แตกต่างกัน ทำให้การรับรู้คุณภาพบริการมีความแตกต่างกัน ส่วนลักษณะส่วนบุคคลด้านอายุ ระดับการศึกษา และสถานภาพที่แตกต่างกัน ทำให้มีความคาดหวังในคุณภาพบริการไม่แตกต่างกัน 3) ความคาดหวัง แตกต่างจากการรับรู้คุณภาพบริการในทุกด้าน 4) ปัจจัยด้านความคาดหวังที่มีผลต่อความพึงพอใจคุณภาพบริการ ได้แก่ ความคาดหวังด้านการบริการรักษาพยาบาลความคาดหวังด้านจริยธรรมของเจ้าหน้าที่ความคาดหวังด้านความสะดวกในการใช้บริการความคาดหวังด้านราคาค่ารักษาพยาบาล 5) การรับรู้คุณภาพบริการด้านความเป็นรูปธรรมของการบริการ ด้านการบริการรักษาพยาบาล ด้านความน่าเชื่อถือไวว้างใจ ด้านการให้ความรู้คำแนะนำและคำปรึกษา ด้านความสะดวกในการใช้บริการ ด้านราคาค่ารักษาพยาบาล มีผลต่อความพึงพอใจโดยรวมในคุณภาพบริการ | |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.rights | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.subject | ผู้ป่วยนอก -- การดูแล | |
dc.subject | มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาบริหารธุรกิจ สำหรับผู้บริหาร | |
dc.title | การศึกษาคุณภาพบริการโดยพิจารณาที่ความคาดหวังและการรับรู้คุณภาพบริการของผู้ป่วยนอกที่มาใช้บริการโรงพยาบาล ABC | |
dc.title.alternative | A study service qulity t the outptien deprtment of pttycity hospitl by considering the expecttion nd perception qulity of servic | |
dc.type | วิทยานิพนธ์/ Thesis | |
dc.description.abstractalternative | This study aimed to study the demographic factors affecting the expectations and perceptions of the quality of medical services of outpatient department in Pattaya City Hospital, to compare the expectations and perceptions of the quality of medical services of outpatient department in Pattaya City Hospital and to analyze the factors affecting the satisfaction of the services of outpatient department of Pattaya City Hospital. The research sample consisted of 400 people who used the service at the outpatient department of Pattaya City Hospital. The instrument used in the study was questionnaires asking about the samples’ personal factors, expectations, perceptions and satisfaction on the service quality. Computer statistical software was used to analyze the data in order to gain basic statistics. The findings revealed that 1) respondents with different personal information: age, educational level, occupation, and income per month, department in which they used the service had difference in the expectations of service quality. However, the respondents with different gender and marital status had no difference in expectations of service quality. 2) Respondents with different personal information such as gender, occupation, income per month, and departments where they used the service had differences in the perceptions of service quality. However, respondents with different personal information such as age, educational level, and marital status had no difference in the perceptions of service quality. 3) Expectations of service quality differed from perception in all aspects. 4) Expectation factors that affected service quality satisfaction were expectations concerning medical services, staff’s ethics, the ease of the service use, and medical expenses. 5)Perceptions of service quality concerning tangibles of medical care service, reliability, educating and giving advice, counseling, the ease of service use, medical expenses affected overall satisfaction with service quality | |
dc.degree.level | ปริญญาโท | |
dc.degree.discipline | บริหารธุรกิจ สำหรับผู้บริหาร | |
dc.degree.name | บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต | |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | วิทยานิพนธ์ (Theses) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
Fulltext.pdf | 4.08 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น