กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6355
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | นภพร ทัศนัยนา | |
dc.contributor.advisor | ไพบูลย์ ศรีชัยสวัสดิ์ | |
dc.contributor.advisor | พูลพงษ์ สุขสว่าง | |
dc.contributor.author | กฤษณะ บุญประสิทธิ์ | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์การกีฬา | |
dc.date.accessioned | 2023-05-12T02:44:07Z | |
dc.date.available | 2023-05-12T02:44:07Z | |
dc.date.issued | 2560 | |
dc.identifier.uri | https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6355 | |
dc.description | ดุษฎีนิพนธ์ (ปร.ด. ) -- มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560 | |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนากลยุทธ์ในการส่งเสริมนักกีฬายูยิตสูไทยสู่ความเป็นเลิศ โดยมีขั้นตอนการเก็บรวบรวมข้อมูล ดังนี้ 1) การศึกษาสภาพและองค์ประกอบในการส่งเสริมนักกีฬายูยิตสู โดยใช้การสัมภาษณ์เชิงลึกกับผู้ทรงคุณวุฒิ จํานวน 7 คน 2) การประเมินความต้องการจําเป็นกับผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสียในกีฬายูยิตสู โดยใช้แบบสอบถามและกําหนดกลุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้นตามสัดส่วน ได้แก่ ผู้จัดการทีม ผู้ฝึกสอน ผู้ตัดสินนักกีฬาทีมชาติ นักกีฬา และผู้ปกครอง กลุ่มตัวอย่างจํานวน 278 คน 3) การพัฒนากลยุทธ์ โดยใช้กระบวนการเทคนิคเดลฟาย แบบปรับปรุง ผู้เชี่ยวชาญ จํานวน 17 คน และ 4) การตรวจสอบความเหมาะสมและความเป็นไปได้ของกลยุทธ์ใช้การสัมภาณ์เชิงลึกกับผู้ให้ข้อมูลสําคัญและเกี่ยวข้องกับกีฬายูยิตสูในแต่ละระดับ จํานวน 5 คน การวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การวิเคราะห์เนื้อหา จํานวน ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าดัชนีลําดับความต้องการจําเป็นแบบปรับปรุง (PNImodified) และการทดสอบค่า t-test ผลการวิจัย พบว่า กลยุทธ์เพื่อส่งเสริมนักกีฬายูยิตสูไทยสู่ความเป็นเลิศ ประกอบด้วย 9 ประเด็นกลยุทธ์ โดยมีแนวทางดําเนินการตั้งแต่ระดับโรงเรียนและสถาบันการศึกษา ระดับสโมสร และทีมกีฬา ระดับภูมิภาค เขต และจังหวัด ระดับชาติ และระดับนานาชาติ ในประเด็นกลยุทธ์ที่ 1 การพัฒนาบุคลากรกีฬายูยิตสูเพื่อความเป็นเลิศสู่ระดับมาตรฐานสากล มี 17 แนวทาง28 โครงการ ประเด็นกลยุทธ์ที่ 2 การเพิ่มศักยภาพทางการเงินในกีฬายูยิตสูมี 11 แนวทาง 15 โครงการ ประเด็นกลยุทธ์ที่ 3 การพัฒนาสิ่งอํานวยความสะดวกในกีฬายูยิตสูให้เป็นมาตรฐาน มี 14 แนวทาง 17 โครงการ ประเด็นกลยุทธ์ที่ 4 การปรับปรุงระบบการบริหารจัดการกีฬาให้เป็นมาตรฐาน มี 15 แนวทาง 20 โครงการ ประเด็นกลยุทธ์ที่ 5 การพัฒนาระบบการแข่งขันกีฬายูยิตสูให้เป็นมาตรฐานสากล มี 15 แนวทาง 18 โครงการ ประเด็นกลยุทธ์ที่ 6 การส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการกีฬาอย่างครบวงจร มี 15 แนวทาง 19 โครงการ ประเด็นกลยุทธ์ที่ 7 การเพิ่มศักยภาพการปลุกกระแสค่านิยมกีฬายูยิตสู มี 17 แนวทาง 19 โครงการ ประเด็นกลยุทธ์ที่ 8 การปรับปรุง องค์กรที่รับผิดชอบกีฬายูยิตสูให้มีมาตรฐาน มี 11 แนวทาง 22 โครงการ และประเด็นกลยุทธ์ที่ 9 การส่งเสริมสวัสดิการในกีฬายูยิตสูมี 17 แนวทาง 19 โครงการ ซึ่งกลยุทธ์เพื่อส่งเสริมนักกีฬา ยูยิตสูไทยสู่ความเป็นเลิศนี้มีความเหมาะสมและมีความเป็นไปได้ในการนําไปปฏิบัติจริง | |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | คณะวิทยาศาสตร์การกีฬา มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.rights | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.subject | นักกีฬา -- สุขภาพและอนามัย -- ไทย | |
dc.subject | นักกีฬายูยิตสู | |
dc.subject | มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การออกกำลังกายและการกีฬา | |
dc.title | การพัฒนากลยุทธ์เพื่อส่งเสริมนักกีฬายูยิตสูไทยสู่ความเป็นเลิศ | |
dc.title.alternative | Developing strtegies to enhnce thi ju-jitsu thletes for excellence | |
dc.type | วิทยานิพนธ์/ Thesis | |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this study was to develop strategies to enhance Thai Ju-Jitsu athletes for excellence. Four steps of the research process are, 1) states and composition to enhance Thai Ju-Jitsu athletes by interviewing experts (n = 7); 2) need assessment of Ju-Jitsu involved by questionnaires with stakeholders comprise of team manager, coach, referee, national athlete, athlete and parents (n = 278); 3) developing strategies by using modified Delphi technique (n = 17); and 4) assessing suitability and feasibility by interviewing key informants and related experts in each level (n = 5). Data was analyzed using analysis of samples, percentage, mean, standard deviation, PNI modified and t-test. The research found that strategies to enhance Thai Ju-Jitsu athletes for excellence comprised ofnine strategic issues with guidelines management as school and educational institution, club and sport team, regions and provinces, national and international level. Nine strategic issues comprised of, 1) developing strategies to enhance Thai Ju-Jitsu athletes for excellence into international standard, 17 guidelines and 28 projects, 2) developing Ju-Jitsu financial potential into standards, 11 guidelines and 15 projects, 3) developing Ju-Jitsu facilities into standards, 14 guidelines and 17 projects, 4) improving sport management system into standards, 15 guidelines and 20 projects, 5) developing Ju-Jitsu competition system into international standards, 15 guidelines and 18 projects, 6) encourage a complete use of sport science and technology, 15 guidelines and 19 projects, 7) increase potential of participation in sport value, 17 guidelines and 19 projects, 8) improving related organizations of Ju-Jitsu into standards, 11 guidelines and 22 projects, and 9) encourage in Ju-Jitsu welfare, 17 guidelines and 19 projects. The result of strategies to enhance Thai Ju-Jitsu athletes for excellence was appropriate and possible to be used practically. | |
dc.degree.level | ปริญญาเอก | |
dc.degree.discipline | วิทยาศาสตร์การออกกำลังกายและการกีฬา | |
dc.degree.name | ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต | |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | วิทยานิพนธ์ (Theses) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
Fulltext.pdf | 4.5 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น