กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6352
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorสมพร ส่งตระกูล
dc.contributor.advisorสุรีพร อนุศาสนนันท์
dc.contributor.advisorวิรัตน์ สนธิ์จันทร์
dc.contributor.authorธนาคาร เสถียรพูนสุข
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์การกีฬา
dc.date.accessioned2023-05-12T02:44:06Z
dc.date.available2023-05-12T02:44:06Z
dc.date.issued2560
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6352
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.) -- มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา ผลการฝึกพลัยโอเมตริกแบบวงจรด้วยยางรถที่มีต่อความเร็วและความคล่องแคล่วในนักกีฬาฟุตบอลโรงเรียน เพศชาย อายุระหว่าง 16-18 ปี จำนวน 30 คน และทำการสุ่มเข้ากลุ่มแบบสมบูรณ์ (Random assignment) เพื่อแบ่งเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่ม ทดลอง 15 คน และกลุ่มควบคุม 15 คนโดยกลุ่มทดลองทำการฝึกโปรแกรมพลัยโอเมตริกแบบวงจร ด้วยยางรถ 8 สัปดาห์ เก็บข้อมูลก่อนและหลังการฝึก ทำการทดสอบความเร็วด้วยวิธีการวิ่ง 50 เมตร (50 meter sprint) และทำการทดสอบความคล่องแคล่วด้วยวิธีการทดสอบแบบอิลลินอยส์ (Illinois agility run test) นำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์เปรียบเทียบความแตกต่างด้วยค่าเฉลี่ยของตัวแปรที่ศึกษา ก่อนและหลังการฝึกสัปดาห์ที่ 8 ด้วยสถิติ Dependent sample t-test และIndependent sample t-test กำหนดนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ผลการวิจัยพบว่าหลังการฝึก 8 สัปดาห์ ค่าเฉลี่ยเวลาความเร็วของกลุ่มทดลอง (6.390 ± 0.206 วินาที) และกลุ่มควบคุม (6.929 ± 0.155 วินาที) มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ .05 และค่าเวลาเฉลี่ยการทดสอบความคล่องแคล่วของกลุ่มทดลอง (16.738 ± 0.399 วินาที) และกลุ่มควบคุม (17.744 ± 0.287 วินาที) มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 จากข้อมูลที่ปรากฏสามารถสรุปได้ว่า โปรแกรมการฝึกพลัยโอเมตริกแบบวงจรด้วยยางรถ สามารถช่วยเพิ่มความเร็วและความคล่องแคล่วของนักกีฬาฟุตบอลได้
dc.language.isoth
dc.publisherคณะวิทยาศาสตร์การกีฬา มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectการฝึกกำลังกล้ามเนื้อ
dc.subjectพลัยโอเมตริก (การฝึกกำลัง)
dc.subjectนักฟุตบอล
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การออกกำลังกายและการกีฬา
dc.titleผลการฝึกพลัยโอเมตริกแบบวงจรด้วยยางรถที่มีต่อความเร็วและความคล่องแคล่วในนักกีฬาฟุตบอลโรงเรียน
dc.title.alternativeEffect of plyometric circuit trining with tires on speed nd gility on school footbll plyer
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeThis research was to studiedthe effect of plyometric circuit training with tires on speed and agility onschool football players. Participants were 30 male football players, aged between 16-18 years old. They were separated into two groups, 15 people in the experimental group and 15 people in the control group. The members of the experimental group attended a plyometric circuit training program for eight weeks and did the speed test with 50-meters of running and agility test with Illinois agility test. Pre and post training data were analyzed and compared the difference of mean both before and after eight week training according to dependent sample t-test and independent sample t-test with statistical significance level of .05. The result indicates that after eight weeks training, the average speed of the experimental group(6.390 ± 0.206 seconds) and the control group (6.929 ± 0.155seconds) was statistically different .05. The agility of the experimental group(16.738 ± 0.399 seconds) and the agility of the control group(17.744 ± 0.287 seconds) was statistically different .05. It can be concluded that plyometric circuit training with tires can increase speedand agility of school football players.
dc.degree.levelปริญญาโท
dc.degree.disciplineวิทยาศาสตร์การออกกำลังกายและการกีฬา
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:วิทยานิพนธ์ (Theses)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
Fulltext.pdf2.7 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น