กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6350
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorพูลพงษ์ สุขสว่าง
dc.contributor.advisorพราม อินพรม
dc.contributor.advisorศักดิ์ชาย พิทักษ์วงศ์
dc.contributor.authorสิริพร อิ่มหุ่น
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์การกีฬา
dc.date.accessioned2023-05-12T02:44:06Z
dc.date.available2023-05-12T02:44:06Z
dc.date.issued2560
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6350
dc.descriptionดุษฎีนิพนธ์ (ปร.ด. ) -- มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนารูปแบบการบริหารจัดการการท่องเที่ยวเชิงกีฬาผจญภัย มีขั้นตอนดำเนินการวิจัย 3 ขั้นตอน คือ 1) ศึกษาข้อมูลเบื้องต้น 2) การพัฒนารูปแบบการบริหารจัดการการท่องเที่ยวเชิงกีฬาผจญภัย 3) การตรวจสอบความเหมาะสมและความเป็นไปได้ของรูปแบบการบริหารจัดการการท่องเที่ยวเชิงกีฬาผจญภัย สรุปผลนำเสนอรูปแบบการบริหารจัดการการท่องเที่ยวเชิงกีฬาผจญภัยและจัดทำคู่มือการบริหารจัดการการท่องเที่ยวเชิงกีฬาผจญภัย โดยใช้เทคนิคเดลฟาย (Delphi technique) ในการพัฒนารูปแบบจากผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 19 คน และใช้การสนทนากลุ่ม (Focus group) ในการตรวจสอบความเหมาะสมและความเป็นไปได้ของรูปแบบการบริหารจัดการการท่องเที่ยวเชิงกีฬาผจญภัยจากผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 8 คน ผลการวิจัยพบว่า รูปแบบการบริหารจัดการการท่องเที่ยวเชิงกีฬาผจญภัย มีองค์ประกอบ 7 ด้าน 40 รายข้อ คือ 1) ด้านบุคลากร จำนวน 6 ข้อ 2) ด้านงบประมาณ จำนวน 6 ข้อ 3) ด้านวัสดุ อุปกรณ์และเครื่องอำนวยความสะดวก จำนวน 6 ข้อ 4) ด้านการจัดการ จำนวน 6 ข้อ 5) ด้านการตลาด จำนวน 5 ข้อ 6) ด้านการจัดการความเสี่ยง จำนวน 5 ข้อ 7) ด้านประเด็นจริยธรรมในการท่องเที่ยวเชิงกีฬาผจญภัย จำนวน 6 ข้อ ผลการวิจัยมีความเป็นไปได้ในการนำไปปฏิบัติและสามารถนำเสนอเป็นคู่มือการบริหารจัดการการท่องเที่ยวเชิงกีฬาผจญภัยแก่หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อนำไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อไป
dc.language.isoth
dc.publisherคณะวิทยาศาสตร์การกีฬา มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectกีฬา
dc.subjectอุตสาหกรรมท่องเที่ยว
dc.subjectการท่องเที่ยวเชิงกีฬา
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การออกกำลังกายและการกีฬา
dc.subjectเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (อีอีซี)
dc.subjectอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวกลุ่มรายได้ดีและการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ
dc.titleรูปแบบการบริหารจัดการการท่องเที่ยวเชิงกีฬาผจญภัย
dc.title.alternativeMngement model for dventure sports tourism
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeThe objective of this study is to develop the management model for adventure sports tourism that consists of 3 stages; 1) Primary data study 2) The development of management model for adventure sports tourism 3) Examination of the suitability and feasibility of management model for adventure sports tourism, conclusion of management model for adventure sports tourism and to conduct the manual of management model for adventure sports tourism using Delphi Technique with 19 experts and focus group to examine the suitability and feasibility of management model for adventure sports tourism from 8 honorable specialists. The study shows that there are 7 aspects with 40 items concerning the management model for adventure sports tourism i.e. 1) Human resources; 6 items. 2) Budget; 6 items. 3) Materials, equipment and facilities; 6 items. 4) Management; 6 items. 5) Marketing; 5 items. 6) Risk management; 5 items. 7) Ethic of adventure sports tourism; 6 items. Research result shows that the management model for adventure sports tourism is practical and can be further conducted as a manual for concerning organizations to be utilized to the fullest.
dc.degree.levelปริญญาเอก
dc.degree.disciplineวิทยาศาสตร์การออกกำลังกายและการกีฬา
dc.degree.nameปรัชญาดุษฎีบัณฑิต
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:วิทยานิพนธ์ (Theses)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
Fulltext.pdf3.09 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น