กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6341
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | นุจรี ภาคาสัตย์ | |
dc.contributor.author | พสิษฐ์ ศรีพชรภาส | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2023-05-12T02:44:04Z | |
dc.date.available | 2023-05-12T02:44:04Z | |
dc.date.issued | 2560 | |
dc.identifier.uri | https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6341 | |
dc.description | งานนิพนธ์ (บธ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2559 | |
dc.description.abstract | การศึกษาวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์หลักสามประการ ประการแรก เพื่อเปรียบเทียบปัจจัยส่วนบุคคลที่แตกต่างกันมีผลต่อความผูกพันของพนักงาน กรณีศึกษา บริษัทฯ ผลิตยางรถยนต์แห่งหนึ่งในจังหวัดระยอง ประการที่สอง เพื่อศึกษาปัจจัยทางจิตวิทยาที่มีผลต่อความผูกพันของพนักงาน กรณีศึกษา บริษัทฯ ผลิตยางรถยนต์แห่งหนึ่งในจังหวัดระยอง และประการที่สาม แนวทางการเพิ่มความผูกพันของพนักงาน กรณีศึกษา บริษัทฯ ผลิตยางรถยนต์แห่งหนึ่งในจังหวัดระยอง ผลวิจัยพบว่าเป็นเพศหญิงมากกว่าเพศชาย อายุของพนักงานส่วนใหญ่ 20-29 ปี ระดับการศึกษาของพนักงานส่วนใหญ่อยู่ในระดับต่ำกว่าปริญญาตรี สถานภาพสมรสของพนักงาน ส่วนใหญ่โสด รายได้ต่อเดือนของพนักงานส่วนใหญ่มีรายได้เฉลี่ยต่อเดือน 10,001-14,000 บาท ผลวิจัยประการแรก พบว่า เพศ ระดับการศึกษา สถานภาพ และรายได้ที่แตกต่างกันไม่มีต่อความผูกพันต่อองค์กร มีเพียงกลุ่มอายุที่แตกต่างกันที่มีผลต่อความผูกพันที่แตกต่างกัน ด้านความผูกพันความรู้สึก ประการที่สอง พบว่า ปัจจัยทางจิตวิทยาความสัมพันธ์เชิงบวกต่อความผูกพันของพนักงานระดับความผูกพันของพนักงานในภาพรวมอยู่ในระดับมาก ด้านความรู้สึกในระดับมาก ด้านความผูกพันต่อเนื่องในระดับมาก และด้านบรรทัดฐานทางสังคมอยู่ในระดับปานกลาง ประการที่สาม พบว่า สิ่งที่องค์กรควรส่งเสริมเพื่อเพิ่มความผูกพัน 3 อันดับแรก คือ 1) ส่งเสริมอิสระในการตัดสินใจในงานที่รับผิดชอบให้แก่พนักงานในลักษณะการสามารถตัดสินใจได้ด้วยตนเอง 2) ผู้บังคับบัญชาต้องให้การสนับสนุน ช่วยเหลือพนักงานให้สามารถปฏิบัติงานได้อย่างราบรื่น 3) จัดสรรทรัพยากรให้เพียงพอต่อความจําเป็นเพื่อทํางานให้บรรลุวัตถุประสงค์ | |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.rights | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.subject | พนักงาน -- ความผูกพันธ์กับองค์กร | |
dc.subject | พนักงาน -- การปฏิบัติตน | |
dc.subject | มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาบริหารธุรกิจ สำหรับผู้บริหาร | |
dc.subject | ยาง -- การผลิต | |
dc.title | ปัจจัยทางจิตวิทยาที่มีผลต่อความผูกพันของพนักงาน : กรณีศึกษา บริษัทฯ ผลิตยางรถยนต์แห่งหนึ่งในจังหวัดระยอง | |
dc.title.alternative | Psychologicl fctors ffecting employees' orgniztion commitment, cse study of cr tire mnufcturer in ryong province | |
dc.type | วิทยานิพนธ์/ Thesis | |
dc.description.abstractalternative | This research attempts to study three main issue including 1) compare different personal factors affecting employees' organization commitment in a case study of a car tire manufacturer in Rayong Province, 2) to study psychological factors affecting employees' organization commitment in a case study of a car tire manufacturer in Rayong Province, and 3) to find a guideline to increase employees' organization commitment in a case study of a car tire manufacturer in Rayong Province. The findings reveal that there were females than males. The majority of employees were 20-29 years old, had education lower than bachelor degree, single, earned the average monthly income of 10,001-14,000 baht. The study on the first issue that different gender, education, marital status, and income did not influence organization commitment. In fact, different age had impacted organization commitment differently. Second issue shows that psychological factor positively related to employees' organization commitment. The level of employees' organization commitment was at high level in overall. Considering in each aspect, emotion and continuous commitment were at high level. social norm factor reached at moderate level. The study on the third issue show that the first three topics encouraging commitment were 1) Supporting freedom to make decision on their work responsibility; 2) Supervisors should support employees to operate work smoothly; and 3) Allocating sufficient resources to accomplish the target. | |
dc.degree.level | ปริญญาโท | |
dc.degree.discipline | บริหารธุรกิจ สำหรับผู้บริหาร | |
dc.degree.name | บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต | |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | วิทยานิพนธ์ (Theses) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
Fulltext.pdf | 1.39 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น