กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/633
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorวรวิทย์ ชีวาพร
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T08:52:58Z
dc.date.available2019-03-25T08:52:58Z
dc.date.issued2543
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/633
dc.description.abstractได้เก็บตัวอย่างสัตว์ทะเลจำนวนทั้งสิ้น 10 ชนิด รวม 111 ตัวอย่าง จากบริเวณบางพระและมาบตาพุด เพื่อทำการวิเคราะห์ประมาณสารปรอทปนเปื้อนในตัวอย่างสัตว์ พบว่าปริมาณสารปรอทในตัวอย่างวิเคราะอยู่ในช่วงพอสัย 1.8 - 90.4 ng/g โดยมีค่าเฉลี่ย 22.30 ng/n ซึ่งต่ำกว่าค่ามาตรฐานความปลอดภัยต่อผู้บริโภคที่กำหนดโดย USFDA และมาตรฐานกระทรวงสาธารณสุขฉบับที่ 80 (2527) ที่กำหนดให้ไม่เกิน 500 ng/g พบค่าสูงสุดในปลาเก๋าและต่ำสุดในตัวอย่างแพลงตอนค์ พบการขยายตัวทางชีวภาพของสารปรอทอยู่ในห่วงลูกโซ่อาหาร สัตว์ทะเลในห่วงลูกโซ่อาหารที่สูงกว่าจะพบปริมาณสารปรอทมากกว่าในสัตว์ทะเลที่อยู่ในห่วงโซ่อาหรที่ต่ำกว่า นอกจากนี้เมื่อเอาสารปรอทมาหาความสัมพันธ์กับขนาด (น้ำหนัก) ของสัตว์ พบว่าส่วนใหญ่ไม่มีความสัมพันธ์เป็นสมการเส้นตรง ยกเว้นในปลาแพะ พบว่ามีสัมพันธ์ระหว่างปริมาณสารปรอทกับขนาด เมื่อคำนวนค่า Provisional tolerate weekly intake(PTWI) จากการบริโภคสัตว์ทะเลในบริเวณนี้พบว่ามีค่าเพียง 1/38 ของ PTWI แสดงว่าปริมาณสารปรอทที่ตรวจพบยังอยู่ในระดับที่ปลอดภัยต่อการบริโภคth_TH
dc.description.sponsorshipได้รับงบประมาณประจำปี 2542.en
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectปรอท - - ไทย (ภาคตะวันออก)th_TH
dc.subjectปรอทเป็นพิษth_TH
dc.subjectพิษวิทยาth_TH
dc.subjectสาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยาth_TH
dc.titleการสะสมและการขยายตัวทางชีวภาพของสารพิษปรอท ในสิ่งแวดล้อมชายฝั่งทะเลภาคตะวันออกth_TH
dc.typeResearch
dc.year2543
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม ขนาดรูปแบบ 
2568_037.pdf2.73 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น