กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6329
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | นพดล เดชาประเสริฐ | |
dc.contributor.author | ศรัณย์ วัฒนา | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2023-05-12T02:44:02Z | |
dc.date.available | 2023-05-12T02:44:02Z | |
dc.date.issued | 2560 | |
dc.identifier.uri | https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6329 | |
dc.description | งานนิพนธ์ (บธ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560 | |
dc.description.abstract | การทำวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาถึงปัจจัยด้านประชากรศาสตร์มีอธิพลต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน 2) เพื่อศึกษาถึงการยกระดับของทรัพยากรมนุษย์มีอธิพลต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน 3) เพื่อศึกษาถึงการยกระดับสู่อุตสาหกรรม 4.0 มีอธิพลต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน 4) เพื่อนำผลที่ได้จากการศึกษา นำมาศึกษาแผนการการพัฒนาสมรรถนะของทรัพยากรมนุษย์ 4.0 เพื่อยกระดับสู่อุตสาหกรรม 4.0 วิธีการวิจัยเป็นแบบผสานวิธี เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์ การวิเคราะห์ข้อมูลใช้โปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติ เพื่อวิเคราะห์ค่าสถิติและการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า ปัจจัยด้านประชากรศาสตร์ของผู้ตอบแบบสอบถาม จำนวน 330 คน ส่วนใหญ่เป็นเพศชาย มีอายุระหว่าง 20 ปี-25 ปี ระดับการศึกษามธัยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า มีตำแหน่งพนักงาน ประสบการณ์ 2 ปี ซึ่งด้านอายุ ตำแหน่ง ประสบการณ์ที่ต่างกัน ส่งผลต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงานแตกต่างกัน ผลการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของผลการวิเคราะห์การยกระดับทรัพยากรมนุษย์ให้มีทักษะรอบด้านที่มีอิทธิพลต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน โดยวิธี Stepwise multiple linear regression พบว่า ด้านผู้มีทักษะหลากหลายการคิดอย่างมีตรรกะ สามารถอธิบายถึงประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงานที่มีอิทธิพลต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงานได้ ผลการวิเคราะห์ผลการวิเคราะห์การยกระดับสู่อุตสาหกรรม 4.0 ที่มีอิทธิพลต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน โดยวิธี Stepwise multiple linear regression พบว่า การพัฒนาคนที่มีความเกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีขั้นสูงการเชื่อมโยงอินเทอรเน็ตผ่านแอพพิเคชั่น และเทคโนโลยีดิจิทลันำเข้ามามาใช้ในการทำงาน การผสมผสานการทำงานระหว่างเครื่องจักรและหุ่นยนต์ในภาคอุตสาหกรรม การทำอุตสาหกรรมที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม และการใช้เทคโนโลยีชั้นสูงและก้าวหน้าเกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมในอนาคต สามารถอธิบายถึงประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงานที่มีอิทธิพลต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงานได้ซึ่งข้อมูลข้างต้นสามารถเป็นข้อมูลประกอบการแผนการการพัฒนาสมรรถนะของทรัพยากรมนุษย์ 4.0 เพื่อยกระดับสู่อุตสาหกรรม 4.0ได้ | |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.rights | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.subject | สมรรถภาพทางกาย | |
dc.subject | มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาบริหารธุรกิจ สำหรับผู้บริหาร | |
dc.title | การพัฒนาสมรรถนะของทรัพยากรมนุษย์ 4.0 เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานไปสู่ประเทศไทย 4.0 | |
dc.title.alternative | Compitency develovement of humm resource for Thilnd 4.0 | |
dc.type | วิทยานิพนธ์/ Thesis | |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this research were to 1) study demographic factors that influence competency of employees in their work performance; 2) study the development of human resource that influences competency of employee in their work performance; 3) to study enhancement of Thailand industry 4.0 that influences competency of employees in their work performance; and 4) study all results and provide an approach of the competency development of human resource for Thailand 4.0 in order to enhance Thailand industry 4.0. The data collection methods were questionnaire and interview. The data were analyzed by statistical package. The results of this research revealed demographic factors of 330 respondents were males, aged between 20 – 25 years, gradated high school degree, and 2-year work experience. The differences in age, career and work experience had an influence on employees’ competency. The result of this research used by Stepwise multiple linear regression to find out relationship between human resource enhancement and factors influencing employees’ competency also showed that skillfulness and logical thinking of the employees explained how the competency influenced the work performance. The results of industry enhancement influencing on employee’s competency showed that factors concerning Industry 4.0: Humans, Digital City (Internet Of Things), Cyber-physical Production, Intelligent Robotic and Automation, Green Energy Age, and Advance Technology had an influence on competency development of human resource to upgrade for Industry 4.0 in Thailand. | |
dc.degree.level | ปริญญาโท | |
dc.degree.discipline | บริหารธุรกิจ สำหรับผู้บริหาร | |
dc.degree.name | บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต | |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | วิทยานิพนธ์ (Theses) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
Fulltext.pdf | 2.78 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น