กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6295
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สุณี หงษ์วิเศษ | |
dc.contributor.author | นุชสรา นาคทอง | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ | |
dc.date.accessioned | 2023-05-12T02:42:19Z | |
dc.date.available | 2023-05-12T02:42:19Z | |
dc.date.issued | 2560 | |
dc.identifier.uri | https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6295 | |
dc.description | งานนิพนธ์ (รป.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560 | |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับความความต้องการพัฒนาตนเองของพนักงานธนาคารกรุงศรีอยุธยา จํากัด (มหาชน) ในเขตอําเภอศรีราชาและอําเภอเมือง จังหวัดชลบุรี และเพื่อเปรียบเทียบความต้องการพัฒนาตนเองของพนักงานธนาคารกรุงศรีอยุธยา จํากัด (มหาชน) ในเขตอําเภอศรีราชาและอําเภอเมือง จังหวัดชลบุรี โดยจําแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ เพศ อายุ ตําแหน่งงาน ระดับการศึกษา รายได้เฉลี่ยต่อเดือน ระยะเวลาในการปฏิบัติงานและสาขาที่ปฏิบัติงาน โดยทําการศึกษาจากพนักงานธนาคารกรุงศรีอยุธยา จํากัด (มหาชน) ในเขตอําเภอศรีราชาและอําเภอเมือง จังหวัดชลบุรี จํานวนทั้งหมด 230 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ทดสอบความแตกต่างระหว่างค่าเฉลี่ยในการวิจัยโดยใช้การวิเคราะห์ Independent t-test การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว One-way ANOVA และทดสอบความแตกต่างรายคู่ด้วยวิธีการทดสอบ Scheffe และ LSD โดยกำหนดระดับนัยสําคัญทางสถิติที่ .05 ผลการศึกษา พบว่า พนักงานธนาคารกรุงศรีอยุธยา จํากัด (มหาชน) ในเขตอําเภอเมืองศรีราชาและอําเภอเมือง จังหวัดชลบุรี มีความต้องการพัฒนาตนเองในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านการฝึกอบรมมากที่สุด รองลงมาคือ ด้านการเรียนรู้ด้วยตนเอง และด้านการศึกษาต่อน้อยที่สุด ผลการเปรียบเทียบระดับความต้องการพัฒนาตนเองของพนักงาน ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จํากัด (มหาชน) ในเขตอําเภอเมืองศรีราชาและอําเภอเมือง จังหวัดชลบุรี จําแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล พบว่า เพศ อายุ ตําแหน่งงาน และระดับการศึกษาแตกต่างกัน มีความต้องการพัฒนาตนเองไม่แตกต่างกัน แต่พนักงานที่มีรายได้เฉลี่ยต่อเดือน ระยะเวลาในการปฏิบัติงานและสาขาที่ปฏิบัติงานแตกต่างกันมีความต้องการพัฒนาตนเองแตกต่างกัน อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 | |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.rights | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.subject | พนักงานธนาคาร | |
dc.subject | การพัฒนาตนเอง | |
dc.subject | มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการบริหารทั่วไป | |
dc.title | ความต้องการพัฒนาตนเองของพนักงานธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำกัด (มหาชน) ในเขตอำเภอศรีราชาและอำเภอเมือง จังหวัดชลบุรี | |
dc.title.alternative | Needs for selfdevelopment mong employees working for bnk of yudhy public compny limited in mphoe srirch nd mueng chon buri | |
dc.type | วิทยานิพนธ์/ Thesis | |
dc.description.abstractalternative | The purpose of this study was to examine a level of needs for self-development among employees working for Bank of Ayudhya Public Company Limited, located in Amphoe Sriracha and Mueang Chon Buri. Also, this study intended to compare the level of needs as classified by personal factors, including gender, age, work position, educational level, average amount of monthly income, work length, and branch of the bank for which these employees were working. The subjects participating in this study were 200 bank employees working for different branches of Bank of Ayudhya, located in both Amphoe Sriracha and Mueang Chon Buri. The instrument used to collect the data was a questionnaire. The descriptive statistical tests used to analyze the collected data included frequency, percentage, means, and standard deviation. To test the differences between means, the tests of independent t-test and One-way ANOVA were administered. The Least Significant Difference test (LSD) with a preset of significant level at .05 was also used to test the differences between pairs. The results of this study revealed that the employees working for Bank of Ayudhya Public Company Limited, located in Amphoe Sriracha and Mueang Chon Buri demonstrated a high level of needs for self-development. When considering each aspect of needs, the one in relation to training was rated the highest, followed by the aspects of needs relating to self-study and further education, respectively. Also, based on the results from the comparisons, it was shown that there were no statistically significant differences in the level of needs among the employees working for Bank of Ayudhya Public Company Limited who had different gender, age, work position, and educational level. Finally, statistically significant differences were found in the level of needs among the subjects working for Bank of Ayudhya Public Company Limited who had different average amount of monthly income, work length, and branch of the bank for which they were working at a significant level of .05. | |
dc.degree.level | ปริญญาโท | |
dc.degree.discipline | การบริหารทั่วไป | |
dc.degree.name | รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต | |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | วิทยานิพนธ์ (Theses) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
Fulltext.pdf | 1.01 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น