กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6292
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | กาญจนา บุญยัง | |
dc.contributor.author | อัจฉริยาภรณ์ ไชยโย | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ | |
dc.date.accessioned | 2023-05-12T02:42:19Z | |
dc.date.available | 2023-05-12T02:42:19Z | |
dc.date.issued | 2560 | |
dc.identifier.uri | https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6292 | |
dc.description | งานนิพนธ์ (รป.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560 | |
dc.description.abstract | การวิจัยเรื่อง “เครือข่ายการมีส่วนร่วมอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้: กรณีศึกษา ชุมชนบ้านนาอีสาน ตำบลท่ากระดาน อำเภอสนามชัยเขต จังหวัดฉะเชิงเทรา” มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการก่อรูปเครือข่ายและการจัดระบบบริหารเครือข่ายการมีส่วนร่วมอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ของชุมชนบ้านนาอีสาน ตำบลท่ากระดาน อำเภอสนามชัยเขต จังหวัดฉะเชิงเทราโดยวิธีการสัมภาษณ์แบบเชิงลึกจากผู้ให้ข้อมูลสำคัญ จำนวน 2 กลุ่ม ประกอบด้วยกลุ่มภาครัฐ จำนวน 3 คน และกลุ่มวนเกษตรบ้านนาอีสาน (กลุ่มเพาะกล้าไม้บ้านนาอีสาน) จำนวน 6 คน ผลการวิจัย พบว่า การก่อรูปเครือข่ายของชุมชนบ้านนาอีสานเกิดจากการริเริ่มของชุมชนเอง เป็นกลุ่มที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติมีรูปแบบไม่เป็นทางการ มีโครงสร้างที่ไม่ซับซ้อน ซึ่งชุมชนเกิดความตระหนักและตื่นตัวในปัญหาใดปัญหาหนึ่งแล้วลงมือริเริ่มในการรวมตัวกันเข้าเป็นกลุ่มเพื่อดำเนินการแก้ไขปัญหาให้ลุล่วงหรือบรรเทาไปประกอบด้วย 1) การสร้างความตระหนักในปัญหาและสำนึกในการรวมตัว 2) การแสวงหาแกนนำที่ดีของเครือข่าย 3) การสร้างจุดร่วมของผลประโยชน์ และ 4) การสร้างแนวร่วมสมาชิกของเครือข่าย โดยมีการใช้เวทีการเรียนรู้เป็นเครื่องมือในการดำ เนินกิจกรรมและแลกเปลี่ยนความรู้สำหรับผลการศึกษาการจัดระบบบริหารเครือข่ายของชุมชนบ้านนาอีสาน พบว่า ปัจจุบันกลุ่มมีความชัดเจน เรื่องการจัดระบบบริหารเครือข่าย ซึ่งประกอบด้วย 1) การจัดผังกลุ่มเครือข่าย 2) การจัดบทบาทหน้าที่ของสมาชิกในเครือข่าย 3) การจัดระบบติดต่อสื่อสารและ 4) การจัดระบบการเรียนรู้ร่วมกัน โดยมีจุดมุ่งหมายคือการต่อสู้เพื่อหาทางออกให้กับปัญหาและอุปสรรคที่เกิดขึ้นจนประสบความสำเร็จ เพื่อรักษาวิถีชีวิตแบบดั้งเดิม คือ“มีกินมีใช้ตลอดชีวิต” มีชีวิตแบบพอเพียงและสามารถพึ่งตนเองได้โดยที่ไม่เป็นภาระต่อสังคมภายนอก | |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.rights | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.subject | การอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ -- ฉะเชิงเทรา | |
dc.subject | มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการบริหารทั่วไป | |
dc.title | เครือข่ายการมีส่วนร่วมอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ : กรณีศึกษาชุมชนบ้านนาอีสาน ตำบบลท่ากระดาน อำเภอสนามชัยเขต จังหวัดฉะเชิงเทรา | |
dc.title.alternative | Network of prticiption in the conservtion of forest resources: cse study of bn n e-sn community, th krdn sub-district, snm chi khet district, chchoengso province | |
dc.type | วิทยานิพนธ์/ Thesis | |
dc.description.abstractalternative | The objective of this research was to study the formation and organization of networksof participation in the conservation of forest resources of Ban Na E-san community, Tha Kradan Sub-district, Sanam Chai Khet District, Chachoengsao Province. In-depth interviews were conducted by two key informant groups: 3 people from the government and 6 people from Ban Na E-sanagroforest group (Ban Na E-san tree seedling group). From the results, it was found that the network formation of Ban Na E-san community was naturally formed through community initiative with no formal structure. The community was aware of a problem then formed the group to solve or mitigate problems comprising of: 1) awareness of the problem and realization of the need to form a group; 2) the search for good leadership for the network; 3) creating joint benefits, and; 4) creating a network using a learning platform as a tool to conduct activities and exchange knowledge. From the results of the study on the network organization of Ban Na E-san community, it was found that there is clear network management for the present group as follows: 1) network planning; 2) network member responsibilities arrangement; 3) communication systems arrangement, and; 4) shared learning system arrangements. The aims were to seek solutions to the problems and obstacles, to maintain the traditional way of life (to have enough to eat for life), and to live self-sufficiently and selfreliantly without external social burdens. | |
dc.degree.level | ปริญญาโท | |
dc.degree.discipline | การบริหารทั่วไป | |
dc.degree.name | รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต | |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | วิทยานิพนธ์ (Theses) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
Fulltext.pdf | 1.52 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น