กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6290
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorรชฏ จันทร์น้อย
dc.contributor.authorอรัญญา เกษรินทร์
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ
dc.date.accessioned2023-05-12T02:42:18Z
dc.date.available2023-05-12T02:42:18Z
dc.date.issued2560
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6290
dc.descriptionงานนิพนธ์ (รป.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560
dc.description.abstractการวิจัยเรื่อง ปัจจัยแห่งความสําเร็จในการเป็นกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตต้นแบบของกลุ่มออมทรัพย์บ้านอ้อมแก้ว หมู่ที่ 9 ตําบลมาบโป่ง อําเภอพานทอง จังหวัดชลบุรี มีวัตถุประสงค์ของการวิจัยคือ เพื่อศึกษาปัจจัยแห่งความสําเร็จในการเป็นกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตต้นแบบของกลุ่มออมทรัพย์บ้านอ้อมแก้ว หมู่ที่ 9 ตําบลมาบโป่ง อําเภอพานทอง จังหวัดชลบุรีผู้ให้ข้อมูลสําคัญประธานคณะกรรมการ สมาชิก กลุ่มออมทรัพย์บ้านอ้อมแก้ว จํานวน 15 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือแบบสัมภาษณ์ เป็นการสัมภาษณ์ระดับลึกคือการสัมภาษณ์แบบสนทนาอย่างไม่เป็นทางการ และการสัมภาษณ์แบบการตั้ง คําถามไว้ล่วงหน้า ตรวจสอบความเพียงพอและตรงประเด็นของข้อมูล ผลการศึกษาปัจจัยแห่งความสําเร็จในการเป็นกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตต้นแบบของกลุ่มออมทรัพย์บ้านอ้อมแก้ว พบว่า ด้านสมาชิก และคณะกรรมการคือ 1) ภาวะผู้นําคือ ประธานกลุ่มจะต้องเป็นผู้มีความรู้ มีศักยภาพในการทําหน้าที่ได้อย่างดี มีความสามารถในการวางแผนจัดการบริหารกลุ่มออมทรัพย์ให้ดําเนินงานไปด้วยดี แก้ไขปัญหา และให้คําปรึกษาเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเต็มความสามารถ 2) การมีส่วนร่วม คือ มีความ กระตือรือล้น และมีความสามัคคีให้ความร่วมมือในการเข้าร่วมประชุมการร่วมมือกันในการทํากิจกรรมภายในกลุ่มสามารถแลกเปลี่ยนความคิดและปรึกษาหารือกัน 3) ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับกลุ่มออมทรัพย์คือ มีความรู้ ความเข้าใจในการออม คือ มีวินัยการออมอย่างต่อเนื่อง 4) การปฏิบัติงาน คือ การทํางานที่ได้รับมอบหมายให้ประสบผลสําเร็จ สามารถแก้ไขปัญหา มีความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย ด้านการบริหารกลุ่มออมทรัพย์คือ 1) มีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบอย่างเป็นระบบคือ มีการบริหารงานที่ดี มีความสามัคคี ความรับผิดชอบ และยอมรับที่จะปฏิบัติตามด้วย มีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบของคณะกรรมการในฝ่ายต่าง ๆ อย่างเป็นระบบ 2) มีการประชุมและมีกฎระเบียบข้อบังคับที่ชัดเจน คือ คณะกรรมการมีความความกระตือรือล้น และมีความสามัคคีให้ความร่วมมือในการเข้าร่วมประชุมของกลุ่มออมทรัพย์อย่างพร้อมเพรียงและสมํ่าเสมอ คณะกรรมการที่ทํางานด้วยความโปร่งใส และสมาชิกสามารถตรวจสอบได้ด้านหน่วยงานสนับสนุนและสวัสดิการ คือ คณะกรรมการศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมดูงานจากหน่วยงานของรัฐ และเอกชน รวมถึงกลุ่มออมทรัพย์ของชุมชนอื่น ๆ เ ยวกับ การออมเงิน การทําอาชีพเสริมที่ประสบความสําเร็จ เพื่อนําแนวทาง รูปแบบ แนวคิด และระเบียบข้อบังคับมาปรับใช้
dc.language.isoth
dc.publisherวิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต
dc.subjectกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต -- การบริหาร
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการบริหารทั่วไป
dc.titleปัจจัยแห่งความสำเร็จในการเป็นกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตต้นแบบของกลุ่มออมทรัพย์ บ้านอ้อมแก้ว หมู่ที่ 9 ตำบลมาบโป่ง อำเภอพานทอง จังหวัดชลบุรี
dc.title.alternativeFctors ffecting the success s production sving group model of bn om keo sving group, moo 9, mb pong sub-district, mphoe pnthong, chon buri province
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this study was to examine factors affecting the success as a production saving group model of Bann Aom Kaeo Saving Group, located in Mab Pong Sub-district, Amphoe Panthong, Chon Buri Province. The informants participating in this study were 15 people, including the group director, committee, members of Baan Aom Kaeo Saving Group. The instrument used to collect the data was a questionnaire. An in-depth, structured interview technique was used to collect the data. The results of the study revealed that there were three factors influencing the success of Baan Aom Kaeo Saving Group. The first factor was the members and committee of the Saving Group. In other words, the leadership of the group director of the Saving Group affected its success. It was found that the director was a knowledgeable person who was able to plan, operate and solve the problems of the group effectively. The second factor was in relation to member participation. All members of the Saving Group, including the director, committee, and other members were eager to collaboratively discuss and exchange ideas. The last factor affecting the success of Bann Aom Kaeo Saving Group was the knowledge, understanding, and disciplines on savings. Effective savings should set aside some money for an emergency or for investment expansion. This kind of practice benefited both the members themselves and the group. Also, the success of Bann Aom Kaeo Saving Group resulted from a systematic working process. There was delegation of responsibility among group members with an effective administrative system. All members demonstrated mutual respect to each other and complied with the rules and regulations. In addition, there was delegation of responsibility among the group committee. The committee called for the meetings and met on a regular basis. Rules and regulations were written clearly for all members. Every committee always attended the meetings; they performed their duties with transparency and accountability. Finally, the group committee always sought new knowledge by paying a study visit to both public and private sectors as well as other saving groups.
dc.degree.levelปริญญาโท
dc.degree.disciplineการบริหารทั่วไป
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:วิทยานิพนธ์ (Theses)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
Fulltext.pdf8.42 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น