กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6270
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorกาญจนา บุญยัง
dc.contributor.authorกิตติพศ ทูปิยะ
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ
dc.date.accessioned2023-05-12T02:39:19Z
dc.date.available2023-05-12T02:39:19Z
dc.date.issued2560
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6270
dc.descriptionงานนิพนธ์ (รป.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560
dc.description.abstractงานนิพนธ์ในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ตและสารสนเทศของนิสิตมหาวิทยาลัยบูรพา และเพื่อเปรียบเทียบพฤติกรรมสารสนเทศของนิสิต มหาวิทยาลัยบูรพา จำแนกตาม เพศ อายุ ระดับการศึกษา ชั้นปี รายได้ต่อเดือน คณะ ค่าใช้จ่าย สถานที่ และประสบการณ์การใช้อินเทอร์เน็ต กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยคือ นิสิตมหาวิทยาลัยบูรพา จำนวน 255 คน เครื่องมือในการเก็บข้อมูล คือ แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลด้วย ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน Independent samples t-test, F-test รวมถึง Welch และ Brownforsythe กำหนดระดับนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 เปรียบเทียบรายคู่ ด้วยวิธี LSD (Least significant difference) และ Dunnett C ผลการวิจัยพบว่า นิสิตผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นนิสิตเพศหญิง อายุ 17-25 ปี ศึกษาอยู่ในระดับชั้นปริญญาตรี ชั้นปีที่ 4 ศึกษาอยู่ในกลุ่มคณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มีรายได้ต่อเดือนไม่เกิน 10,000 บาท ในด้านของพฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ต พบว่า นิสิต มหาวิทยาลัยบูรพาส่วนใหญ่ใช้อินเทอร์เน็ตตามสถานที่ต่าง ๆ ที่มีจุดบริการ Wifi บ่อยที่สุด โดยมากจะใช้งานผ่านโทรศัพท์มือถือ / Smartphone ในช่วงเวลา 10.01-24.00 น. เป็นประจำทุกวัน มีระยะเวลาการใช้งานมากกว่า 1 ชั่วโมง/ วัน เพื่อใช้งาน Social network มากที่สุด แต่สำหรับคอมพิวเตอร์ PC กับ Notebook/ Macbook/ Labtop จะใช้เพื่อการศึกษามากที่สุด นิสิตมหาวิทยาลัยบูรพามีพฤติกรรมสารสนเทศอยู่ในระดับมาก ผลการทดสอบสมมติฐานพบว่า นิสิตที่มีเพศและระดับการศึกษา ต่างกัน มีพฤติกรรมการใช้สารสนเทศไม่ต่างกัน และนิสิตที่มีอายุชั้นปี รายได้ กลุ่มคณะ ค่าใช้จ่ายในการใช้อินเทอร์เน็ต สถานที่ และประสบการณ์ต่างกัน มีพฤติกรรมการใช้สารสนเทศต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
dc.language.isoth
dc.publisherวิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- นักศึกษา
dc.subjectการค้นข้อสนเทศ
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการจัดการภาครัฐและภาคเอกชน
dc.subjectผู้ใช้อินเทอร์เน็ต
dc.subjectพฤติกรรมข่าวสาร
dc.subjectการค้นหาทางอินเทอร์เน็ต
dc.titleพฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ตและสารสนเทศของนิสิตมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.title.alternativeBehviour on the use of the internet nd informtion technology mong university students in Burph University
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were to examine behavior on the use of the Internet and information technology among university students studying in Burapha University and to compare their behavior on the use of the Internet as classified by gender, age, educational level, year of study, amount of monthly income, faculty, expenses, venue and experience in using the Internet. The subjects participating in this study were 255 university students studying at Burapha University. The instrument used to collect the data was a questionnaire. The statistical tests used to analyze the collected data included frequency, percentage, means, and standard deviation. Also, the tests of independent t-test, Welch and Brown-forsythe with a preset of significant level at .05 were administered. The Least Significant Difference test (LSD) was used to test the differences between pairs. The results of this study revealed that the majority of the students were female, aged 17-25, studying in their final year in Faculty of Humanities and Social Sciences, and having average amount of income not more than 10,000 baht. Also, it was found that the majority of these students often used the Internet via their smart phones at available Wifi locations during 18.01-24.00 a.m. on a daily basis. They spent at least one hour per day on social network. For studying, these students used the Internet via their personal computers, notebook/ Macbook/ and laptop. In addition, it was shown that the level of the Internet use among the university students was at a high level. Based on the results from the test of hypotheses, it was found that there were statistically significant differences in behavior on the use of the Internet and information technology among the students with different gender and educational level. Finally, no statistically significant differences were found in behavior on the use of the Internet and information technology among the students with different age, year of study, amount of income, faculty, expenses on the use of the Internet, venue and experience in using the Internet at a significant level of .05.
dc.degree.levelปริญญาโท
dc.degree.disciplineการจัดการภาครัฐและภาคเอกชน,สาขาวิชาจิตวิทยาพัฒนาการ
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:วิทยานิพนธ์ (Theses)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
Fulltext.pdf1.79 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น