กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/626
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorพรรณี เพชรยศ
dc.contributor.authorกรรณิการ์ จาบถนอม
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ บางแสน. คณะวิทยาศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T08:52:58Z
dc.date.available2019-03-25T08:52:58Z
dc.date.issued2534
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/626
dc.description.abstractการทดลองนี้มุ่งศึกษาเพื่อหาวิธีการที่เหมาะสมในการเพาะเลี้ยงสาหร่ายเขาสวนกวาง (Gracilaria verrucosa) บริเวณชายฝั่งเขาสามมุข อำเภอเมือง จังหวัดชลบุรี ด้วยวิธีการปลูกแบบดักสปอร์ และการใช้ต้นพันธุ์ ในการเพาะเลี้ยงใช้วัสดุสำหรับเป็นพื้นผิวให้เกาะ 2 ชนิด คือ ตาข่าย และเส้นเชือก สำหรับแนวการวางของตาข่ายและเส้นเชือกมี 3 แบบ คือ แบบทุ่นลอย แบบจม และแบบขึงตามแนวตั้งฉากกับพื้นดิน โดยการทำทดลองในระบบเปิดภายใต้สภาพธรรมชาติ ตั้งแต่วันที่ 20 ธันวาคม พ.ศ. 2530 ถึง วันที่ 29 กุมภาพันธุ์ พ.ศ. 2531 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้วิธีวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบสองทาง ผลปรากฎว่าเมื่ิอเพาะเลี้ยงด้วยวิธีการปลูกแบบดักสปอร์ไม่มีการเกาะปรากฎว่า การวางแบบจมให้ผลผลิตสูงที่สุด การวางแบบทุ่นลอยให้ผลผลิตต่ำที่สุด การปลูกโดยใช้ตาข่ายเป็นพื้นผิวให้เกาะผลผลิตจะสูงกว่าการใช้เส้นเชือก นอกจากนี้ยังพบว่าการเพาะเลี้ยงแบบตาข่ายจมให้ผลผลิตสูงที่สุด และรองลงมาตามลำดับได้แก่ การเพาะเลี้ยงแบบตาข่ายขึงตามแนวตั้งฉากกับพื้นดิน และเส้นเชือกเดี่ยวทุนลอย และนอกจากนี้ยังพบว่าผลผลิตของสาหร่ายเขากวางจากการปลูกโดยใช้ตาข่ายเป็นพื้นผิวให้เกาะกับการใช้เส้นเชือกมีความแตกต่างกันเมื่อวิเคราะห์ความแตกต่างทางสถิติที่ระดับนัยสำคัญ 0.01
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ บางแสนth_TH
dc.subjectการเพาะเลี้ยงในน้ำ - - ชลบุรีth_TH
dc.subjectสาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยาth_TH
dc.subjectสาหร่ายเขากวางth_TH
dc.titleการเพาะเลี้ยงสาหร่ายเขากวาง บริเวณชายฝั่งทะเล ณ เขาสามมุข จังหวัดชลบุรีth_TH
dc.title.alternativeCulturing of Gracilaria verrucosa in natuaral coastal habitat at Kaosammuk, Cholburi provinceth_TH
dc.typeResearchth_TH
dc.year2534
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this study was to determine appropriate method for culturing of the Gracilaria verrucoca at Kaosammuk coastal area in Chonburi province. Two culturing methods were used in this experiment : one by using spores and the other is thallous the substrates were nets and the monoline. The nets and monoline were set in three different types; float, sink and interception with the ground. The experiment was carried out in an open system, from December 20,1987 to February 29, 1988 The results were as follows: It was found the algae culture by using spores, there was no G. verrucosa grew on the net or monoline. Culturing G. verrucosa by using thallus. The results showed that the highest yield of the macroalen
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม ขนาดรูปแบบ 
2568_044.pdf1.74 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น