กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6250
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | กาญจนา บุญยัง | |
dc.contributor.author | อารยา วงค์กุลพิลาศ | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ | |
dc.date.accessioned | 2023-05-12T02:39:15Z | |
dc.date.available | 2023-05-12T02:39:15Z | |
dc.date.issued | 2560 | |
dc.identifier.uri | https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6250 | |
dc.description | งานนิพนธ์ (รป.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560 | |
dc.description.abstract | การศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนต่อการตัดสินใจเข้าศึกษาต่อระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย หรือเทียบเท่าของนักเรียนโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา เขตพื้นที่การศึกษาจันทบุรีเขต 1 มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อการตัดสินใจเข้าศึกษาต่อระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย หรือเทียบเท่าของนักเรียนโรงเรียนขยายโอกาสในเขตพื้นที่การศึกษาจันทบุรีเขต 1กลุ่มตัวอย่างเท่ากับ 216 ตัวอย่าง เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บมูลโดยใช้แบบสอบถาม และวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติค่าความถี่ ค่าร้อยละค่าเฉลี่ยค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบสมมติฐานโดยใชส้ถิติ Chi-square tests เพื่อทดสอบความสัมพันธ์ระหว่าง ตัวแปร ผลการวิจัย 1. เพื่อศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ของนักเรียนโรงเรียนขยายโอกาสในเขตพื้นที่การศึกษาจันทบุรี เขต 1 เกี่ยวกับการตัดสินใจเข้าศึกษาต่อ 2. เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ของปัจจัยในการตัดสินใจเข้าศึกษาต่อระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย หรือเทียบเท่าของนักเรียนโรงเรียนขยายโอกาส ผลการทดสอบสมมติฐาน พบว่า ปัจจัยด้านบุคคลได้แก่ เพศและผลการเรียน ไม่มีความสัมพันธ์ต่อการตัดสินใจศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้น ปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อมได้แก่ การรับรู้ ข่าวสารทางการศึกษาและการแนะแนวของคุณครูไม่มีความสัมพันธ์ต่อต่อการตัดสินใจศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้น ปัจจัยด้านครอบครัวได้แก่ รายได้เฉลี่ยต่อเดือนของผู้ปกครองอาชีพของผู้ปกครองและลักษณะครอบครัวไม่มีความสัมพันธ์ต่อการตัดสินใจศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้น การศึกษาสูงสุดของผู้ปกครอง มีความสัมพันธ์ต่อการตัดสินใจศึกษาต่ออย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ .05 และสุดท้ายปัจจัยด้านจิตวิทยา ได้แก่ เจตคติต่อการเรียน การคล้อยตาม กลุ่มเพื่อน ค่านิยมทางการศึกษาของผู้ปกครองไม่มี ความสัมพันธ์ต่อการตัดสินใจศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้น และเจตคติด้านแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์มีความสัมพันธ์ต่อการตัดสินใจศึกษาต่อของนักเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ .05 | |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.rights | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.subject | นักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย -- การศึกษาต่อ | |
dc.subject | โรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา -- ไทย -- ชลบุรี | |
dc.subject | นักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย -- การตัดสินใจ | |
dc.subject | มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการบริหารทรัพยากรมนุษย์ | |
dc.title | ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการตัดสินใจเข้าศึกษาต่อระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่าของนักเรียนโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาจันทบุรี เขต 1 | |
dc.title.alternative | Decision-mking in furthering eduction t high school level or equivlence mong students in opportunity expnsion schools, chntburi bsic eductionl service re 1 | |
dc.type | วิทยานิพนธ์/ Thesis | |
dc.description.abstractalternative | The purpose of this study was to examine the opinions towards furthering education at a high school level or equivalence among students studying in opportunity expansion schools under the supervision of Chantaburi Basic Educational Service Area 1. Also, this study intended to determine factors correlating to the decision-making in furthering education at a high school level or equivalence among these students. The subjects participating in this study were 216 students. The instrument used to collect the data was a questionnaire. The statistical tests used to analyze the collected data included frequency, percentage, means, and standard deviation. The test of Chi-Square was also administered to test the relationships between the interested variables. The results of the study, based on the test of research hypotheses, revealed that there was no relationship between the subjects’ personal factors, including gender and educational achievement, and their decision in furthering a higher educational level. Also, no relationship was found between environmental factors, including amount of information receiving and teachers’ guidance, and the subject’s decision in furthering a higher educational level. In addition, the family factors, including parents’ average amount of monthly income, parents’ occupation, and types of family, had no relationship with the subject’s decision in furthering a higher educational level. It was found that there was a relationship between parents’ highest educational level and the subject’s decision in furthering a higher educational level at a significant level of .05. Moreover, no relationships were found between psychological factors, including learning attitudes, peer influence, and educational value among parents, and the subject’s decision in furthering a higher educational level. Finally, there was a relationship between the subjects’ achievement motivation and their decision to pursue a higher educational level. | |
dc.degree.level | ปริญญาโท | |
dc.degree.discipline | การบริหารทรัพยากรมนุษย์ | |
dc.degree.name | รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต | |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | วิทยานิพนธ์ (Theses) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
Fulltext.pdf | 991.14 kB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น