กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6246
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorอุษณากร ทาวะรมย์
dc.contributor.authorสมใจ ตามแต่รัมย์
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ
dc.date.accessioned2023-05-12T02:39:14Z
dc.date.available2023-05-12T02:39:14Z
dc.date.issued2560
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6246
dc.descriptionงานนิพนธ์ (รป.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560
dc.description.abstractการวิจัยเรื่อง “ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำ เร็จ หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ อําเภอพานทอง จังหวัดชลบุรี” มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับความสำเร็จของหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ อําเภอพานทอง เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อระดับความสำเร็จของหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ อําเภอพานทอง จังหวัดชลบุรี ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ ประชาชนที่อาศัยอยู่จริงในหมู่บ้านเเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบอำเภอพานทองทั้ง 10 หมู่บ้าน จำนวนประชากร 7,342 คน และกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 380 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลการวิจัยครั้งนี้ คือ แบบสอบถาม และสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าความถี่ร้อยละค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ ด้วยวิธีแบบขั้นตอน ผลการศึกษา พบว่า ระดับความสำเร็จหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบอำเภอพานทอง จังหวัดชลบุรี อยู่ในระดับมาก ส่วนระดับความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับความความสำเร็จของหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ พบว่า ปัจจัยด้านสังคม-วัฒนธรรมอยู่ในระดับมากที่สุด รองลงมา คือ ด้านการสนับสนุนจากหน่วยงานภาครัฐปัจจัยด้านผู้นําชุมชน ปัจจัยด้านการมีส่วนร่วม ปัจจัยด้านภาคีเครือข่ายและปัจจัยด้านทุนธรรมชาติส่วนอันดับสุดท้าย คือ ปัจจัยด้านเศรษฐกิจครัวเรือน และปัจจัยที่ส่งผลต่อระดับความสำเร็จหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง ต้นแบบ พบว่า ปัจจัยด้านการสนบั สนุนจากหน่วยงานภาครัฐ (Beta = 0.307**) ปัจจัยด้านเศรษฐกิจ (Beta = 0.221**) ปัจจัยด้านทรัพยากรธรรมชาติ (Beta = 0.216**) และด้านปัจจัยการมีส่วนร่วม (Beta = 0.194**) ส่งผลทางบวกต่อระดับความสำเร็จหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้รนแบบ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 โดยปัจจัยด้านการสนับสนุนจากหน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชน ส่งผลสูงสุด และทั้ง 4 ปัจจัยนี้สามารถพยากรณ์ความสำเร็จของหมู่บ้าน ฯ ได้ร้อยละ 64 (R 2 = .640) ส่วนปัจจัยด้านผู้นำชุมชน ปัจจัยด้านภาคีเครือข่ายและปัจจัยด้านสังคมวัฒนธรรมชุมชนไม่ส่งผลต่อระดับความสำเร็จหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ ฯ
dc.language.isoth
dc.publisherวิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการจัดการภาครัฐและภาคเอกชน
dc.subjectเศรษฐกิจพอเพียง -- ชลบุรี
dc.titleปัจจัยที่ส่งผลต่อระดับความสำเร็จหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบอำเภอพานทอง จังหวัดชลบุรี
dc.title.alternativeFctors ffecting the success of model villges for sufficiency economy, mphoe pnthong, chon buri province
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this study was to determine a level of success of model villages for Economy Sufficiency, located in Amphoe Panthong, Chon Buri Province. Also, this study intended to examine factors affecting the success of these villages for Sufficiency Economy. The population of this study was 7,342 people living in 10 villages for EconomySufficiency. The subjects participating in this study were 380 residents. The instrument used to collect the data was a questionnaire. The statistical tests used to analyze the collected data included frequency, percentage, means, standard deviation, and Stepwise Multiple Regression. The results of this study revealed that the subjects rated the level of success of model villages for Sufficiency Economy, located in Amphoe Panthong, Chon Buri Province at a high level. Also, they considered the social-cultural factor the most influential factor affecting the success of these model villages for Sufficiency Economy, followed by the factors in relation to governmental support, community leaders, community participation, networks, natural resources, and household economy, respectively. Specifically, it was found that various factors contributed to the success of model villages for Sufficiency Economy, located in Amphoe Panthong, Chon Buri Province. These included the factors relating to governmental support (Beta = 0.307), economy (Beta = 0.221), natural resources (Beta = 0.216), and community participation (Beta = 0.194) which positively influenced the success of model villages for Economy Sufficiency at a significant level of .01. In particular, the factors relating to governmental and private supports accounted for the success of model villages for Sufficiency Economy at the highest level. All of these four factors were predictive of the success of model villages for Sufficiency Economy at 64% (R2 =.640). Finally, the factors in relation to community leaders, network, and community society-culture did not affect the success of model villages for Sufficiency Economy.
dc.degree.levelปริญญาโท
dc.degree.disciplineการจัดการภาครัฐและภาคเอกชน
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:วิทยานิพนธ์ (Theses)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
Fulltext.pdf1.06 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น