กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6223
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorสุณี หงส์วิเศษ
dc.contributor.authorสุทิวัส จิตรประวัติ
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ
dc.date.accessioned2023-05-12T02:37:26Z
dc.date.available2023-05-12T02:37:26Z
dc.date.issued2560
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6223
dc.descriptionงานนิพนธ์ (รป.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับของขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงานและเปรียบเทียบขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงานของพนักงานจำแนกตาม เพศ อายุ สถานภาพ ระดับการศึกษา ตำแหน่งงาน ระยะเวลาในการปฏิบัติงาน และหน่วยงานที่สังกัด ธนาคารสิน เขตชลบุรี 3 ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ พนักงานธนาคารออมสินเขตชลบุรี 3 จำนวน 104 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามแบบประมาณค่า 4 ระดับ ประกอบด้วย 1) ด้านความมั่นคงปลอดภัย 2) ด้านโอกาสก้าวหน้าในการทำงาน 3) ด้านสถานที่ทำงานและการจัดการ 4) ด้านค่าจ้างหรือรายได้ 5) ด้านลักษณะของงานที่ทำ 6) ด้านการนิเทศงาน 7) ด้านลักษณะทางสังคม 8) ด้านการสื่อสาร 9) ด้านสภาพการทำงาน และ 10) ด้านผลประโยชน์ตอบแทน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าเฉลี่ย (u) ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดทอบค่าที (t-test) และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One-way ANOVA) ผลการวิจัยพบว่า ขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงานของพนักงานธนาคารออมสินเขตชลบุรี 3 โดยรวมอยู่ในระดับค่อนข้างดี เรียงตามอันดับค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย 3 อันดับแรก ได้แก่ ด้านการสื่อสาร ด้านลักษณะทางสังคม และด้านการนิเทศงาน ตามลำดับ ผลการเปรียบเทียบขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงานของพนักงานธนาคารออมสิน เขตชลบุรี 3 พบว่า พนักงานที่มีเพศ สถานภาพบุคคล ระดับการศึกษา ตำแหน่งงาน และระยะเวลาในการปฏิบัติงาน ต่างกันมีขวัญและกำลังใจไม่แตกต่างกัน แต่พบว่าพนักงานที่มี อายุ และหน่วยงานที่สังกัดต่างกัน มีขวัญและกำลังใจแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
dc.language.isoth
dc.publisherวิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectพนักงานธนาคาร
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการจัดการภาครัฐและภาคเอกชน
dc.subjectขวัญในการทำงาน
dc.titleขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงานของพนักงานธนาคารออมสินเขตชลบุรี 3
dc.title.alternativeThe morlein performnce of the employess of the government sving bnk, district 3 chonburi
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeThe purpose of the research is to study the level of morale in employee performance and to compare the morale of the employee performance by gender, age, status, education level, job title, duration of work, and departments in Government Savings Bank, District 3 Chonburi. The research population are 104 employee of Government Savings Bank, District 3 Chonburi. The research instrument is a 4-level questionnaire that consists of 1) the security, 2) the job opportunities, 3) the workplace and management, 4) wages or income, 5) the nature of the work, 6) the supervision of the work, 7) the social aspect, 8) the communication, 9) the working condition and 10) the reward. Data analyzed by using mean (u), standard deviation, t-test and one-way ANOVA. The research found that the level of moral in employee performance of the employees of the Government Savings Bank, District 3 Chonburi is quite good. The three highest ranks are the communication, the social aspect, and the supervision of the work, respectively. The result of the comparison of morale in employee performance of the employees of the Government Savings Bank, District 3 Chonburi is that the employees with the different gender, status, education level, job title, and duration of work don’t have different morale level. The employees with the different age and departments have statistically significant morale differences at .05
dc.degree.levelปริญญาโท
dc.degree.disciplineการจัดการภาครัฐและภาคเอกชน
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:วิทยานิพนธ์ (Theses)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
Fulltext.pdf7.14 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น