กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6210
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorเบ็จมาศ ไพบูลย์กิจกุล
dc.contributor.advisorวิทวัส แจ้งเอี่ยม
dc.contributor.authorศศิฬา ฉิมพลี
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิศวกรรมศาสตร์
dc.date.accessioned2023-05-12T02:34:38Z
dc.date.available2023-05-12T02:34:38Z
dc.date.issued2560
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6210
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการดูดซับโครเมียม (VI) ในน้ำเสียด้วยถ่านกัมมันต์จากเปลือกทุเรียนที่เตรียมโดยวิธีการกระตุ้นทางเคมีด้วยสารละลายโปแตสเซียมไฮดรอกไซด์ ศึกษาสภาวะที่เหมาะสมในการเตรียมถ่านกัมมันต์จากการศึกษาพบว่าสภาวะที่เหมาะสมในการเตรียมถ่านกัมมันต์ คือ การคาร์บอไนซ์ที่อุณหภูมิ 400 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 1 ชั่วโมงและกระตุ้น ให้เป็นถ่านกัมมันต์ โดยการแช่ด้วยสารละลายโพแทสเซียมไฮดรอกไซด์เข้มข้น 50% อัตราส่วนถ่านชาร์ต่อสารละลาย 1 :3 เป็ นเวลา 24 ชั่วโมง เผาที่อุณหภูมิ 500 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 1 ชั่วโมง จากการศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการดูดซับพบว่า เมื่อสารละลายโครเมียมที่ pH เท่ากัย 2 สามารถดูดซับโครเมียมสูงสุดเท่ากับ 4.82 มิลลิกรัมต่อกรัม ซึ่งการดูดซับเกิดขึ้นอย่างรวดเร็วในช่วง 10 นาทีแรก ในการศึกษาการดูดซับโครเมียมจากการวิเคราะห์ซีโอดีที่ความเข้มข้นเริ่มต้น 4.2 มิลลิกรัมต่อกรัม พบว่า สามารถดูดซับโครเมียมได้ 100% จากการศึกษาเปรียบเทียบการดูดซับโครเมียมด้วยถ่านกัมมันต์ชนิดผงและชนิดเม็ด พบว่า ถ่านกัมมันต์ชนิดผงและชนิดเม็ด สามารถดูดซับโครเมียมได้ 0.61 และ 0.41 มิลลิกรัมต่อกรัม อีกทั้งศึกษาการดูดซับโครเมียมในน้ำเสียจากการวิเคราะห์ซีโอดีด้วย 2 ชุด การทดลอง คือ ชุดกรองแบบ Peristaltic pump และชุดกรองแบบคอลัมน์ พบว่า แนวโน้มการดูดซับมีลดลงเมื่ออัตราการไหลเพิ่มขึ้น เนื่องจากเมื่ออัตราการไหลต่าง ๆ ทำให้ถ่านกัมมันต์สัมผัสสารละลายโครเมียมได้มากขึ้น จึงส่งผลให้ค่าการดูดซับมีมากขึ้น
dc.language.isoth
dc.publisherคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectถ่าน
dc.subjectเปลือกทุเรียน -- การใช้ประโยชน์
dc.subjectคาร์บอนกัมมันต์
dc.titleการพัฒนารูปแบบการใช้ถ่านกัมมันต์จากเปลือกทุเรียนเพื่อกำจัดโครเมียมในน้ำเสียจากการวิเคราะห์ซีโอดี
dc.title.alternativeDevelopment of ctivted crbon from durin shell for chromium removl in wstewter of cod nlysis
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeThis research was to study the adsorption of chromium (VI) in COD wastewater by activated carbon from durian shell with potassium hydroxide for the chemical activate. The suitable conditions to prepare activated carbon had been studied. The results showed the proper conditions to make activated carbon were carbonized at 400o C, 1 hr and activated by 50% potassium hydroxide, ratio 1:3 for 24 hr, then burned at 500o C, 1 hr. The maximum chromium (VI) adsorption at pH 2 was 4.82 mg/g. The rapid absorption exhibited at first 10 minutes. The absorption from wastewater was 100% removal at 4.2 mg/g initial chromium concentration. The chromium absorptions between powder and granule activated carbon were 0.61 and 0.41 mg/g, respectively. The chromium absorption from COD wastewater of two groups, the peristaltic pump, and column filter had been decreased when increased the flow rate because activated carbon could more contact the chromium solution when the flow rate of filtration was slow.
dc.degree.levelปริญญาโท
dc.degree.disciplineกลุ่มวิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมทางทะเล
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:วิทยานิพนธ์ (Theses)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
Fulltext.pdf5.98 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น