กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6208
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | วรัตถา อุทยารัตน์ | |
dc.contributor.author | อภิชาติ วงค์กฎ | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิศวกรรมศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2023-05-12T02:34:38Z | |
dc.date.available | 2023-05-12T02:34:38Z | |
dc.date.issued | 2560 | |
dc.identifier.uri | https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6208 | |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560 | |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและประยุกต์หลักการทางวิศวกรรมอุตสาหการ ด้วยแนวคิดการผลิตแบบโตโยต้า เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพให้กับสายการประกอบแกนพวงมาลัยรถยนต์ของโรงงานกรณีศึกษาที่ประสบปัญหาประสิทธิภาพการผลิตต่ำกว่าเป้าหมายที่บริษัทกำหนด เนื่องจากเกิดความสูญเปล่าขึ้นในกระบวนการผลิต ผลที่ได้จากการวิจัย พบว่า ภายหลังการปรับปรุงประสิทธิภาพในกระบวนผลิตแล้ว ทำให้สายการประกอบแกนพวงมาลัยรถยนต์มีความสูญเสียจากการเคลื่อนไหวของพนักงานลดลง จาก 4.94% เหลือ 0% คิดเป็นเปอร์เซ็นต์ที่ลดลง 100% มีความสูญเสียเนื่องจากกระบวนการผลิตที่ขาดประสิทธิผลลดลงจาก 5.41% เหลือ 2.09% คิดเป็นเปอร์เซ็นต์ที่ลดลง 61.36% มีความสูญเสีย เนื่องจากการรอคอยการเปลี่ยนอุปกรณ์เพื่อการผลิตต่างรุ่นลดลงจาก 2.75% เหลือ 0.47% คิดเป็นเปอร์เซ็นต์ที่ลดลง 82.25% มีประสิทธิภาพการผลิตเพิ่มขึ้นจาก 86.95% เป็น 97.48% คิดเป็นเปอร์เซ็นต์ที่เพิ่มขึ้น 12.11% และมีผลผลิตเพิ่มขึ้นจาก 1,106 ชิ้นต่อวันเป็น 1,240 ชิ้นต่อวันคิดเป็นเปอร์เซ็นต์ที่เพิ่มขึ้น 12.11% คิดเป็นเป็นรายรับ 455,600 บาทต่อวันหรือเทียบเท่า 118,456,000 บาทต่อปีจากการวิจัยการปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิตนี้ส่งผลให้โรงงานกรณีศึกษาบรรลุเป้าหมายในการปรับปรุงการผลิตตามที่คาดหวังไว้ | |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.rights | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.subject | รถยนต์ -- พวงมาลัย -- การผลิต | |
dc.subject | การบริหารงานผลิต -- ญี่ปุ่น | |
dc.subject | อุตสาหกรรมรถยนต์ -- ญี่ปุ่น -- การควบคุมการผลิต | |
dc.subject | เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (อีอีซี) | |
dc.subject | อุตสาหกรรมยานยนต์สมัยใหม่ | |
dc.subject | มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการจัดการงานวิศวกรรม | |
dc.title | การปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิตโดยใช้แนวคิดการผลิตแบบโตโยต้า โรงงานกรณีศึกษา สายการผลิตแกนพวงมาลัยรถยนต์ | |
dc.title.alternative | Production effeciency improvement by Toyot production system concept : cse study utomotive steering colume line | |
dc.type | วิทยานิพนธ์/ Thesis | |
dc.description.abstractalternative | The purpose of this research was to study and apply industrial engineering principles and Toyota Production System concept to improve the efficiency of the automotive steering column production line of the factory, where was facing problems and having production efficiency lower than company expectation as well as causing waste in production process. The results of the research after the improvement showed that; operation wasted time decreasedfrom 4.94% to 0.00% (100% decreasing). Machining wasted time decreased from 5.41% to 2.09% (61.36% decreasing).Setting time to switch each model production decreased from 2.75% to 0.47% (82.25% decreasing).Production process efficiency increased from 86.95% to 97.48 (12.11% increase). Production outputs increased from 1,106 piecesperday to 1,240 pieces per day (12.11% increasing). After all improvement, the company revenue increased to 455,600 THB per day or approximately 118,456,000 THB per year (12.11% of revenue increasing). As a result, productivity improvement has metof company expectation. | |
dc.degree.level | ปริญญาโท | |
dc.degree.discipline | การจัดการงานวิศวกรรม | |
dc.degree.name | วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต | |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | วิทยานิพนธ์ (Theses) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
Fulltext.pdf | 4.43 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น