กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6205
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorสร้อยพัทธา สร้อยสุวรรณ
dc.contributor.authorชินวร รตโนภาส
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิศวกรรมศาสตร์
dc.date.accessioned2023-05-12T02:34:37Z
dc.date.available2023-05-12T02:34:37Z
dc.date.issued2560
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6205
dc.descriptionงานนิพนธ์ (วศ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560
dc.description.abstractงานนิพนธ์นี้ทำการศึกษาปัจจัยของการเตรียมตัวเร่งปฏิกิริยาคอปเปอร์ออกไซด์ซิงค์ออกไซด์อลูมิเนียมออกไซด์ (CuO/ZnO/Al ์ 2O3) ที่ส่งผลต่อการเกิดผลิตภัณฑ์ของปฏิกิริยาคาร์บอนไดออกไซดไฮโดรจิเนชัน (CO2 Hydrogenation) ด้วยวิธีการตกตะกอนร่วม (Coprecipitation) ทำการเตรียมตามอัตราส่วน Cu/Zn/Al เท่ากับ 6 : 3 : 1 โดยใช้สารละลายแอมโมเนีย ยูเรียและโซเดียมไฮดรอกไซด์เป็นสารช่วยตกตะกอนที่เปลี่ยนแปลงสภาวะความเป็นกรด-เบส (pH) 7, 9, 11 ตามลำดับ นำไปทดสอบปฏิกิริยา คาร์บอนไดออกไซดไฮโดรจิเนชัน (CO2 Hydrogenation) ที่อุณหภูมิ 250°C ความดัน 1 บรรยากาศวัดองค์ ประกอบของแก๊สด้วยเครื่องแก๊สโครมาโทกราฟฟี พบว่า ค่าความสามารถในการเร่งปฏิกิริยาใกล้เคียงกัน อยู่ในช่วง 2-3% มีความสามารถในการเลือกเกิดผลิตภัณฑ์การเลือกเกิดผลิตภัณฑ์ของตัวเร่งปฏิกิริยา CuO/ZnO/Al2O3 ที่เตรียมด้วยสารละลายแอมโมเนียมและยูเรียในสัดส่วน มีเทน : อีเทน โดยประมาณร้อยละ 80 : 20 และตัวเร่งปฏิกิริยา CuO/ZnO/Al2O3 ที่เตรียมด้วยสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์จะมี ความสามารถในการเลือกเกิดผลิตภัณฑ์เป็นมีเทนเพียงอย่างเดียว คือ 100% สำหรับการวิเคราะห์คุณสมบัติการสลายตัวทางความร้อนของตัวเร่งปฏิกิริยา ภายในระยะเวลา 2 ชั่วโมงด้วยวิธีโปรแกรมอุณหภูมิการออกซิเดชัน (Temperature Programmed Oxidation) พบว่า ตัวเร่งปฏิกิริยาที่เตรียมด้วยสารละลายแอมโมเนียและยูเรียมีการลดลงของน้ำหนักในช่วงอุณหภูมิ 40-150 °C เนื่องจากน้ำได้สลายตัวออกจากตัวเร่งปฏิกิริยาในช่วงอุณหภูมิดังกล่าว แต่หลังจากช่วงอุณหภูมิ 180°C เป็นต้น จะมีการเพิ่มขึ้นของน้ำหนักสันนิษฐานว่าเนื่องจาก ตัวเร่งปฏิกิริยาเกิดการออกซิไดซ์ของคอปเปอร์บนตัวเร่งปฏิกิริยาไปเป็นคอปเปอร์ออกไซดในช่วงอุณหภูมิดังกล่าวและสำหรับตัวเร่งปฏิกิริยาที่เตรียมด้วยสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์มีการลดลงของน้ำหนักในช่วงอุณหภูมิ 40-800°C ทั้งนี้อาจเกิดจากการสลายตัวของคาร์บอนหรือโค๊กบนตัวเร่งปฏิกิริยา
dc.language.isoth
dc.publisherคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectการตกตะกอน (เคมี)
dc.subjectการเร่งปฏิกิริยา
dc.subjectปฏิกิริยาเคมี -- การทดลอง
dc.subjectตัวเร่งปฏิกิริยา
dc.subjectปฏิกิริยาคาร์บอนไดออกไซด์ไฮโดรจิเนชั่น
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาวิศวกรรมเคมีและสิ่งแวดล้อม
dc.titleปัจจัยของการเตรียมตัวเร่งปฏิกิริยา Cuo
dc.title.alternativeEffects of Cuo/ZnO/AI2O3 preprtions on products of Co2 Hydrogenetion
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativePreparation factors affecting copper based catalysts (CuO/ZnO/Al2O3) on product selectivity of carbon dioxide hydrogenation were investigated. The catalysts were prepared via co-precipitation at molar ratio of Cu/Zn/Al equal to 6 : 3: 1. The ammonium hydroxide, urea and sodium hydroxide solutions were employed as reagents to adjust pH level from 7 to 9 and 11, respectively. The carbon dioxide hydrogenation over resulting catalysts were investigated at 250o C and 1 atm. The products and reactants in influent and effluent streams from fixed bed plug flow reactor were detected by gas chromatography. It was found that % CO2 conversion were approximately at 2-3%. The catalysts derived from ammonium hydroxide and urea routes produced a mixture of methane and ethane (80% : 20%), while sodium hydroxide route only gave product of methane (100%). Thermal analysis of the catalysts gave the weight decomposition of used catalyst under oxygen circumstance or Temperature Programmed Oxidation. The catalysts prepared by ammonium hydroxide and urea solutions gave weight loss in the temperature range from 40 to 150o C owing to evaporation of water, while the catalyst gained some weight after 180o C possibly due to the re-oxidation of copper metal to copper oxide. The weight of used catalyst precipitated by sodium hydroxide solution was consistently lost from 40 to 800o C due to combustion of deposit carbon.
dc.degree.levelปริญญาโท
dc.degree.disciplineวิศวกรรมเคมีและสิ่งแวดล้อม
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:วิทยานิพนธ์ (Theses)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
Fulltext.pdf4.13 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น