กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6203
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorจักรวาล คุณะดิลก
dc.contributor.authorวราภรณ์ โคตรสมบัติ
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิศวกรรมศาสตร์
dc.date.accessioned2023-05-12T02:34:36Z
dc.date.available2023-05-12T02:34:36Z
dc.date.issued2560
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6203
dc.descriptionงานนิพนธ์ (วศ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560
dc.description.abstractการวิจัยมีวัตถุประสงค์เพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิตและลดต้นทุนของการผลิตยางก่อนอบ (Raw cover) เทคนิคทางวิศวกรรมอุตสาหการและหลักการกำจัด รวมจัดลำดับใหม่ และทำให้ง่าย (Eliminate Combine Rearrange and Simplify, ECRS) ถูกนำมาประยุกต์ในการลดความสูญเปล่าด้านต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในสายการประกอบนี้ ยางก่อนอบถูกประกอบขึ้นมาจากขั้นตอนการผลิต 3 ขั้นตอนโดยใช้พนักงาน 3 คน และความเร็วการผลิต (Takt time) ถูกกำหนดไว้ที่ 115 วินาทีจากการวิเคราะห์ภาระงานพบว่าการผลิตขั้นตอนที่ 2 และ 3 ต้องการใช้พนักงานเพียงคนเดียวเนื่องจากเวลาว่างและเวลาต่าง ๆ ที่สูญเสียไปในการผลิตมีสัดส่วนมากกว่าร้อยละ 50 ของเวลา การผลิตทั้งหมด ดั้งนั้นแผนภูมิคนเครื่องจักรจึงถูกสร้างขึ้นมาเพื่อจัดลำดับ งานของการผลิตในขั้นตอนที่ 2 และ 3 ให้กับพนักงานหนึ่งคน ผลการจัดลำดับงานแสดงให้เห็นว่ารอบเวลาการผลิตช้ากว่าความเร็วการผลิตที่ต้องการงานวิจัยนี้จึงออกแบบอุปกรณ์ช่วยในการนำยางก่อนอบออกจากเครื่องจักรลงสู่สายพานลำเลียงเพื่อกำจัดงานนี้ออกจากการใช้แรงงานคน และเพิ่มความยาวสายพานลำเลียงที่ขั้นตอนการใส่ด้านข้างของยางซึ่งทำให้ลดความสูญเปล่าจากการเดินไปหยิบงานของพนักงานได้มาก จากนั้นจึงทำการปรับลำดับการทำงานเพื่อลดเวลาว่างงานของพนักงานลงอีก ทำให้รอบเวลาการผลิตเร็วกว่าความเร็วการผลิตที่ต้องการ ผลการวิจัยพบว่าประสิทธิภาพการผลิตเพิ่มขึ้นเนื่องจากเวลาว่างรวมของพนักงานทุกคนลดลงขณะที่ยังสามารถผลิตงานได้ตามปริมาณที่ลูกค้าต้องการ และต้นทุนการผลิตลดลงเนื่องจากต้นทุนด้านแรงงานลดลงประมาณ 223,200 บาท ต่อปี
dc.language.isoth
dc.publisherคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectอุตสาหกรรมยางรถ -- การควบคุมการผลิต
dc.subjectเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (อีอีซี)
dc.subjectอุตสาหกรรมยานยนต์สมัยใหม่
dc.subjectอุตสาหกรรมยางรถ -- มาตรฐานการผลิต
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการจัดการงานวิศวกรรม
dc.subjectรถยนต์ -- ยางล้อ -- การผลิต
dc.titleการปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิตในกระบวนการประกอบยางรถยนต์
dc.title.alternativeProduction efficiency improvement in tire ssembly process
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeThis research aims to increase production efficiencyand to decrease the cost of the raw cover production. The industrial engineering techniques and the ECRS concept for process improvement were applied to reduce several types of waste occurring in the assembly line. The raw cover wasbuilt from three stages of production which used 3 operators with the takt time at 115 seconds. Based on data from workloadanalysis, only one operator was required for the second and third stages of production since the percentages of idle time and working losses of corresponding operators were more than 50%. The man-machine chart was developed to rearrange task elements and work sequences of second and third stages for single operator. The chart showed that the cycle time was slower than the takt time. Consequently, a kick off equipment was designed and used for unloading the raw cover to conveyor which can eliminate the taskfrom the operator. Length extension of conveyor at the former side wall insertion step can simplify the operator task as the walking distance was reduced, dramatically. Then rearranging some work sequences can reduced the idle time of the operator. After improvement the cycle time became faster than the takt time as explored by the man-machine chart. The results of this research revealed that the production efficiency was increased since the total idle time of all operators was reduced where production rate was able to achieve the customer demand. The cost of production was decreased since the labor cost was reduced 223,200 baths per year, approximately.
dc.degree.levelปริญญาโท
dc.degree.disciplineการจัดการงานวิศวกรรม
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:วิทยานิพนธ์ (Theses)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
Fulltext.pdf3.31 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น