กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6200
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | จักรวาล คุณะดิลก | |
dc.contributor.author | ศุภชัย เจียบเกาะ | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิศวกรรมศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2023-05-12T02:34:36Z | |
dc.date.available | 2023-05-12T02:34:36Z | |
dc.date.issued | 2560 | |
dc.identifier.uri | https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6200 | |
dc.description | งานนิพนธ์ (วศ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560 | |
dc.description.abstract | งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อแก้ไขปัญหาชุดเฟืองท้ายของรถยนต์มีเสียงดัง จากข้อมูลปัญหาคุณภาพในอดีต พบว่าปัญหาการร้องเรียนด้านเฟืองท้ายมีเสียงดังประมาณ 2.5 คันต่อเดือน หลักการดีเอ็มเอไอซี (DMAIC) ถูกนํามาประยุกต์สําหรับแก้ปัญหานี้ ประกอบด้วยการนิยามปัญหา (Define) การวัด (Measure) การวิเคราะห์ (Analyze) การปรับปรุง (Improve) และการควบคุม (Control) ขั้นตอน Define เป็นการกำหนดการเป้าหมายในการกำจัดปัญหาชุดเฟืองท้ายของรถยนต์มีเสียงดังเนื่องจากปริมาณนํ้ามันเฟืองท้ายตํ่ากว่าระดับมาตรฐาน ขั้นตอน Measure พบว่าระบบการวัดมีความเที่ยงตรงเท่ากับ 100% และระดับคุณภาพซิกมาด้านปริมาณนํ้ามันเฟืองท้ายที่ขนาดน๊อต M8 x 10 เท่ากับ 2.6σ คิดเป็นปริมาณของเสียการจากการผลิตประมาณ 8,239 PPM จากนั้นแผนผังแสดงเหตุและผล (Causes and Effect diagram) กับการวิเคราะห์ข้อบกพร่องและผลกระทบ (Failure mode and Effect analysis, FMEA) ถูกนํามาใช้ในขั้นตอน Analyze ทําให้สามารถหาสาเหตุสําคัญของปัญหาคุณภาพคือขั้ นตอนการสั่งเติมนํ้ามันเฟืองท้ายมีความซับซ้อน ทําให้พนักงานทํางานผิดพลาด ขั้นตอน Improve ในงานวิจัยนี้ได้ออกแบบระบบป้องกันความผิดพลาด (Poka-Yoke) ในการเติมนํ้ามันเติมน้ำมันเฟืองท้ายและขั้นตอน Control ได้ใช้อาศัย เอกสารแนะนําการปฏิบัติงานตามขั้นตอนการทํางานใหม่ และแผนภูมิควบคุมค่าเฉลี่ยและพิสัยในการเฝ้าติดตามกระบวนการ ผลการวิจัยพบว่า ไม่มีข้อร้องเรียนจากลูกค้าหลังปรับปรุงการผลิตเป็นเวลาสามเดือนต่อเนื่องระดับคุณภาพซิกมาด้านปริมาณนํ้ามันเฟืองท้ายที่ขนาดน๊อต M8 x 10 หลังจากปรับปรุงการผลิต 3 เดือนสูงขึ้นเป็ น 3.9σ คิดเป็นปริมาณของเสียการจากการผลิตลดลงเหลือประมาณ 80 PPM | |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.rights | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.subject | ซิกซ์ซิกมา (มาตรฐานการควบคุมคุณภาพ) | |
dc.subject | อุตสาหกรรมชิ้นส่วนรถยนต์ -- การควบคุมคุณภาพ | |
dc.subject | เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (อีอีซี) | |
dc.subject | อุตสาหกรรมยานยนต์สมัยใหม่ | |
dc.subject | อุตสาหกรรมรถยนต์ -- การควบคุมคุณภาพ. | |
dc.subject | มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการจัดการงานวิศวกรรม | |
dc.subject | อุตสาหกรรมชิ้นส่วนรถยนต์ -- การควบคุมการผลิต | |
dc.title | การปรับปรุงคุณภาพการผลิตชุดเฟืองท้ายรถยนต์ โดยใช้แนวทาง ซิกซ์ ซิกม่า | |
dc.title.alternative | Qulity improvement of rer differentil mnufcturing by using six sigm concept | |
dc.type | วิทยานิพนธ์/ Thesis | |
dc.description.abstractalternative | This research aims to solve rattle noise problem from rear differential part of automobiles. According to the quality problem data in the past, this problem had been complained from customers about 2.5 times per month. The DMAIC concept was applied to solve the quality problem. It consists of five phases; Define, Measure, Analysis, Improve, and Control. In the Define phase, level of oil for lubricating the rear differential part less than its standard was chosen for correction based on the problem investigation data from car dealers. Measurement system analysis and process capability study were applied in the Measure phase to determine the current quality levels of the problems. The result revealed that the measurement system was capable with 100% precision level. The control charts were used to determine the process capability. It found that the sigma quality level of the oil filling process with M8 x 10 nut size was at 2.6σ level which producing nonconforming parts about 8,239 PPM. In the Analyze phase, the Causes and Effect diagram and the Failure Modes and Effects Analysis (FMEA) were used to determine possible causes of the quality problems. The results from this phase revealed that the complication of uploading the inputs to oil filling machine can cause operator mistake. Therefore, in the Improve phase, a Poka-Yoke for oil filling system was designed and installed to the machine. In the Control phase, a new work instruction were developed and used for training the operators to perform their jobs correctly. The control charts for average value and range, were used for monitoring the process. The result of this research revealed that the quality problem were eliminated as no customer complaint during three months after improvement. The sigma quality level was increased to 3.9σ which producing nonconforming parts about 80 PPM. | |
dc.degree.level | ปริญญาโท | |
dc.degree.discipline | การจัดการงานวิศวกรรม | |
dc.degree.name | วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต | |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | วิทยานิพนธ์ (Theses) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
Fulltext.pdf | 3.86 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น