กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6191
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorจันทร์ฑา นาควชิรตระกูล
dc.contributor.authorมโนรัตน์ จันทร์คำ
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิศวกรรมศาสตร์
dc.date.accessioned2023-05-12T02:34:33Z
dc.date.available2023-05-12T02:34:33Z
dc.date.issued2560
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6191
dc.descriptionงานนิพนธ์ (วศ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560
dc.description.abstractการค้นคว้าอิสระนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อปรับปรุงกระบวนการขึ้นรูปโลหะด้วยวิธีการแมชชีนนิ่งเพื่อลดอัตราของเสียที่เกิดขึ้นในกระบวนการผลิตชิ้นส่วนเครื่องบิน จากการศึกษา ข้อมูลของเสียในปี 2557 ไตรมาสที่ 4 พบว่า ผลิตภัณฑ์หมายเลข144A6526-1 หรือ Door lower stop มีอัตราของเสียอยู่ที่ 3.74% ซึ่งเกินกว่า ซึ่งเกินกว่าเป้าหมายของบริษัทกรณีศึกษาที่กำ หนดไว้ที่ 1% และมีแนวโน้มที่จะเกิดของเสียจำนวน 117 ชิ้น ซึ่งมีมูลค่าสูงถึง 440,826.26 บาท ปัญหาที่พบ คือ ความหนาของชิ้นงานไม่ได้ขนาดผิวของชิ้นงานเกิดรอยลึกที่เกิดจากคมตัดของเครื่องมือตัด และผิวชิ้นงานมีความต่างระดับที่เกิดจากเครื่องมือตัดการปรับปรุงกระบวนการผลิตจะดำเนินการโดยนำหลักการดีเอ็ม เอไอซีแผนผังก้างปลา เอฟเอ็มอีเอ มาประยุกต์ใช้เพื่อวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหาแล้วจึงทำการปรับปรุงกระบวนการผลิตโดยการปรับปรุงอุปกรณ์จับยึดชิ้นงาน กำหนดมาตรฐานในการทำงาน และกำหนดมาตรฐานในการตรวจสอบสภาพเครื่องมือตัด ผลของการปรับปรุงพบอัตราของเสียอยู่ที่ 0.26% ซึ่งต่ำกว่าเป้าหมายที่บริษัทกรณีศึกษากำหนดไว้ที่อัตราของเสียไม่เกิน 1% และเมื่อเปรียบเทียบกับอัตราของ เสียในไตรมาสที่ 4 ปี พ.ศ. 2557 อัตราการเกิดของเสียลดลงจาก 3.74% เหลือ 0.26% หรือสามารถลดลงได้ 93.04% จากจำนวนของเสียที่พบก่อนปรับปรุง
dc.language.isoth
dc.publisherคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectอุตสาหกรรมการเกษตรและเทคโนโลยีชีวภาพ
dc.subjectเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (อีอีซี)
dc.subjectอุตสาหกรรมอากาศยาน -- การควบคุมการผลิต
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ
dc.subjectอุตสาหกรรมอากาศยาน -- การลดปริมาณของเสีย
dc.titleการประยุกต์หลักการดีเอ็มเอไอซี เพื่อลดของเสียในกระบวนการผลิตชิ้นส่วนเครื่องบินพาณิชย์
dc.title.alternativeImplementing the dmic for defect reduction in the ircrft prts mnufcturing process
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeThis independent research aims to improve the metal forming process by machining methods to reduce the rate of scrap that occurs in the manufacturing process of aircraft parts. According to a study of scrap data in the fourth quarter of 2014, product number 144A6526-1 or Door Lower Stop has a scrap rate of 3.74% which exceeds the company's target of 1%. There are 117 pieces of scrap. And the scrap cost is up to 440,826.26 Baht. The problem is that the thickness of the workpiece is out of specification. The surface of the workpiece contain deep feed mark and elevated levels due to the cutting process. The improvement of the production process is carried out by implementing the Define Measure Analyze Improve Control (DMAIC). Fishbone Diagram and Failure Mode & Effects Analysis (FMEA) are used to diagnose the cause of the problem and them improve the manufacturing process by redesigning the fixture. Finally, the standard working procedure and tool condition monitoring were established. The improvement of the production process by implementing the DMAIC has been applied to reduce the rate of scrap in production. The results show that the scrap rate reduced to 0.26% which is lower than the company's target of no more than 1%. The scrap rate dropped from 3.74% to 0.26% compared to the scrap rate in the fourth quarter of 2014 or can reduce by 93.04% of the number of scraps found.
dc.degree.levelปริญญาโท
dc.degree.disciplineวิศวกรรมอุตสาหการ
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:วิทยานิพนธ์ (Theses)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
Fulltext.pdf6.67 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น