กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6172
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorอนุกูล บูรณประทีปรัตน์
dc.contributor.advisorกฤษนัยน์ เจริญจิตร
dc.contributor.authorตะวัน ผลารักษ์
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์
dc.date.accessioned2023-05-12T02:34:29Z
dc.date.available2023-05-12T02:34:29Z
dc.date.issued2560
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6172
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)-- มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560
dc.description.abstractการศึกษาในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินการเปลี่ยนแปลงของแนวชายหาดบางแสน-วอนนภาโดยใช้อากาศยานไร้คนขับขนาดเล็ก โดยได้แบ่งพื้นที่ศึกษาออกเป็น 4 โซน ได้แก่ โซนที่ 1 (บริเวณแหลมแท่น) โซนที่ 2 (บริเวณศาลเจ้าพ่อแสน) โซนที่ 3 (บริเวณวงเวียนบางแสน) และโซนที่ 4 (บริเวณสวนสาธารณะหาดวอนนภา) ภาพถ่ายรายละเอียดสูงแบบ RGB ที่ได้จาก อากาศยานไร้คนขบขนาดเล็ก็เริ่มทำการศึกษาตั้งแต่เดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2558 ถึง เมษายน พ.ศ. 2559 ในช่วงมรสุมตะวันตกเฉียงใต้และมรสุมตะวีนออกเฉียงเหนือ โดยมีค่าเฉลี่ยของค่า RMS errors ของภาพอยู่ที่ X =1.055 เมตร, Y= เมตร 1.308 และ Z = 0.613 เมตร จากนั้นนำภาพมาวิเคราะห์โดยสร้างเส้นขึ้นมา 2 เส้น คือ 1. เส้นแนวการเปลี่ยนแปลงชายฝั่งและ 2. เส้นแนวชายฝั่งมาตรฐานเพื่อใช้เป็นเส้นอ้างอิงนำเส้นทั้ง 2 เส้นมาเปลี่ยนเป็นจุดที่มีพิกัดทางภูมิศาสตร์และหาระยะห่างระหว่างกัน ด้วยสมการ พบว่ามรสุมตะวนตกเฉียงใต้และมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ กระแสน้ำเลียบฝั่งมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงชายฝั่งและกิจกรรมของมนุษย์ผลที่ไดจากศึกษาคือ โซนที่ 1 (บริเวณแหลมแท่น) มีค่าเฉลี่ยความกว้างของชายหาดเพิ่มขึ้นประมาณ +0.17 เมตรโซนที่ 2 (บริเวณศาลเจ้พ่อแสน) มีค่าเฉลี่ยความกว้างชายหาดลดลงประมาณ -0.72 เมตรโซนที่ 3 (บริเวณวงเวียนบางแสน ) มีค่าเฉลี่ยความกว้างของชายหาดเพิ่มขึ้นประมาณ +2.80 เมตรและโซนที่ 4 (บริเวณสวนสาธารณะหาดวอนนภา) มีค่าเฉลี่ยความกว้างของชายหาดเพิ่มขึ้นประมาณ +0.17 เมตร การใช้เทคโนโลยีรูปแบบใหม่เพื่อศึกษาการเปลี่ยนแปลงชายฝั่งทำให้ได้ ข้อมูลที่มีคุณภาพ และเป็นพื้นฐานในการสำรวจชายฝั่งบางแสน-วอนนภา โดยใช้อากาศยานไร้คนขับขนาดเล็กต่อไป
dc.language.isoth
dc.publisherคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectชายฝั่ง -- ไทย -- ชลบุรี
dc.subjectเขตแดนทางทะเล -- ไทย (ภาคตะวันออก)
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม
dc.subjectชายฝั่ง -- การสำรวจ
dc.titleการศึกษาการเปลี่ยนแปลงชายฝั่งบริเวณชายหาดบางแสน-วอนนภา โดยใช้อากาศยานไร้คนขับ
dc.title.alternativeThe study of shoreline chnge t bngsen – wonnph bech using unmnned eril vehicle
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeThe objective of this study is to evaluate shoreline changes in Bangsaen-Wonnapha beach using small unmanned aerial vehicle (sUAV). The shoreline was divided into 4 zones Zone 1 (Laem Thaen) , Zone 2 (Chaopho Saen), Zone 3 (Bangsaen Circle) and Zone 4 (Wonnapha beach). The RGB images were acquired from May 2015 to April 2016. The geometry was corrected by the combination of ground referencing and air-geotag from sUAV. The Average Root Mean Square errors in X, Y and Z directions were 1.055 m, 1.308 m and 0.613 m, respectively. The shoreline changes were estimated using the calculation of distances between the baselines and shorelines. Maximum seasonal shoreline changes occurred at Zone 3 (Bangsaen Circle), average width of the beach increased approximately +2.80 meter, while the minimum changes were observed at Zone 1 (Laem Thaen) and Zone 4 (Wonnapha beach), average width of the beach increased approximately +0.17 meter . The average beach width in Zone 2 (Chaopho Saen) was reduced by -0.72 meters. The very high resolution images from sUAV indicated significant advantages for shoreline change monitoring.
dc.degree.levelปริญญาโท
dc.degree.disciplineวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:วิทยานิพนธ์ (Theses)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
Fulltext.pdf17.57 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น