กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6171
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ยุภาพร สมีน้อย | |
dc.contributor.author | ภคพล จุ้มใหญ่ | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2023-05-12T02:34:28Z | |
dc.date.available | 2023-05-12T02:34:28Z | |
dc.date.issued | 2560 | |
dc.identifier.uri | https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6171 | |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)-- มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560 | |
dc.description.abstract | งานวิจัยนี้เป็นการพัฒนาการวิเคราะห์ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระด้วยวิธี FRAP บนอุปกรณ์ตรวจวัดแบบกระดาษโดยอาศัยหลักการเปลี่ยนแปลงสีของสารประกอบเชิงซ้อนของ Fe3+ ([Fe(TPTZ)]3+) ที่มีสีน้ำตาลอ่อนถูกรีดิวซ์ไปเป็นสารประกอบเชิงซ้อนของ Fe2+ ([Fe(TPTZ)]2+) ซึ่งมีสีน้ำเงิน อุปกรณ์ตรวจวัดแบบกระดาษนี้สร้างขึ้นให้มีรูปร่างเป็นแบบหลุม (well) มีขนาดเส้น ผ่านศูนย์กลาง 0.5 เซนติเมตร ด้วยวิธีพิมพ์ด้วยขี้ผึ้ง (wax printing) ลงบนกระดาษกรอง whatman เบอร์ 4 เพื่อสร้างบริเวณส่วนกั้นที่ไม่ชอบน้ำ (hydrophobic barrier) ไว้สำหรับในการวิเคราะห์สารทำการศึกษาสภาวะที่เหมาะสมในการเคราะห์ ได้แก่ ความเข้มข้นของ Fe3+ ที่ เหมาะสมสำหรับการเตรียมสารละลาย FRAP รีเอเจนต์ และเวลาในการเกิดปฏิกิริยาบนอุปกรณ์ตรวจวัด โดยใช้สารมาตรฐานคือ กรดแกลลิก จากการทดลองพบว่าความเข้มข้นของ Fe3+ ที่เหมาะสมเท่ากับ 60 มิลลิโมลาร์ และเวลาที่เหมาะสมของการเกิดปฏิกิริยาของสารต้านอนุมูลอิสระมาตรฐานบนอุปกรณ์ตรวจวัดแบบกระดาษอยู่เท่ากับ 5 นาที จากการวิเคราะห์สารต้านอนุมูลอิสระมาตรฐานกรดแกลลิกและทรล็อกซ์ด้วยอุปกรณ์ที่พัฒนาขึ้นพบว่า มีช่วงความเป็น เส้นตรงที่ 0.1-2.0 ไมโครกรัมต่อมิลลิลิตรและ 0.5-2.5 ไมโครกรัมต่อมิลลิลิตรตามลำดับ ค่าการทำซ้ำดีโดยมีค่าร้อยละส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานสัมพัทธ์ 4.45-14.75 และ 8.26-17.05 จากการวิเคราะห์กรดแกลลิกและโทรล็อกซ์ที่มีความเข้มข้นในช่วงกราฟมาตรฐานซ้ำ 8 ครั้ง มีขีดจำกัดการตรวจวัดเท่ากับ 0.07 ไมโครกรัมต่อมิลลิลิตรและ 0.30 ไมโครกรัมต่อมิลลิลิตร สำหรับการวิเคราะห์กรดแกลลิคและโทรล็อกซ์ ตามลำดับ และผลการศกึษาความแม่นของการวิเคราะห์ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระของวิธี FRAP ที่พัฒนาขึ้น (paper-based device) เทียบกับวิธี FRAP แบบดั้งเดิม (spectrophotometric assay) โดยวิเคราะห์ตัวอย่างชาจำนวน 14 ตัวอย่าง พบว่าผลการวิเคราะห์ได้จากทั้งสองวิธีให้ค่าไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 95 | |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.rights | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.subject | ชา | |
dc.subject | มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาเคมีศึกษา | |
dc.title | การพัฒนาอุปกรณ์ตรวจวัดแบบกระดาษสำหรับวิเคราะห์ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระด้วยวิธี Ferric reducing antioxident power (FRAP) ในตัวอย่างชา | |
dc.title.alternative | Development ofpper-bsed ferric reducing ntioxidntpower (frp) ssyfor ntioxidnt ctivity nlysisin te smples | |
dc.type | วิทยานิพนธ์/ Thesis | |
dc.description.abstractalternative | A paper-based analytical device (PAD) with ferric reducing antioxidant power (FRAP) assay for determination of antioxidant activity has been developed. The analysis is based on the measurement of the reducing power of the antioxidant in the sample to reduce the ferric-tripyridyltriazine complex to generate blue color product of ferroustripyridyltriazine complex. The PAD device was fabricated using wax-printing method with a 5 mm in diameter circular test zone. Optimization of the FRAP assay on a paper device was studied including concentration of Fe3+ as well as reaction time using gallic acid as a standard antioxidant. The results showed that optimal concentration of Fe3+ were 60 mM and optimal reaction time was 5 min. The developed PAD was applied for analysis of common standard antioxidants including gallic acid and trolox. The linear range were 0.10-2.0 g/mland 0.5-2.5 g/ml for gallic and trolox, respectively. Good reproducibilities withrelative standard deviations of 4.45-14.75 % and 8.26-17.05 % were obtained from the analysis of gallic acid and trolox at the concentrations in the linear range (n = 8). The limit of detections from gallic acid and trolox were 0.07 g/ml and 0.30 g/ml, respectively. Finally, the performance of the developed device was validated against the traditional spectrophotometric FRAP assay by measuring antioxidant activity of 14 tea samples and the results showed no significant difference for gallic acid equivalent obtained from the two methods at 95% confidence level. | |
dc.degree.level | ปริญญาโท | |
dc.degree.discipline | เคมีศึกษา | |
dc.degree.name | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต | |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | วิทยานิพนธ์ (Theses) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
Fulltext.pdf | 3.23 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น