กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6170
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | กฤช จรินโท | |
dc.contributor.author | ณัฐจักร คิดใจเดียว | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2023-05-12T02:34:28Z | |
dc.date.available | 2023-05-12T02:34:28Z | |
dc.date.issued | 2560 | |
dc.identifier.uri | https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6170 | |
dc.description | งานนิพนธ์ (บธ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560 | |
dc.description.abstract | การศึกษาวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาการนํารูปแบบการพัฒนาองค์กรของบริษัท ซีพีเอฟ (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) กรณีศึกษา โครงการหมู่บ้านเกษตรสันติราษฎร์ หมู่ที่ 5 ตําบลนาวังหิน อําเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี 2) เพื่อศึกษาปัญหาและอุปสรรค ในการนําหลักปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการดําเนินงานของบริษัท ซีพีเอฟ (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) กรณีศึกษา โครงการหมู่บ้านเกษตรสันติราษฎร์ หมู่ที่ 5 ตําบลนาวังหิน อําเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative research) นอกจากนี้ผู้ศึกษาใช้วิธีการศึกษา “เชิงคุณภาพแบบกําหนด พื้นที่ศึกษา” เป็นวิธีการศึกษาเฉพาะกรณี (Case study) โดยเลือกศึกษาการบริหารจัดการ โครงการหมู่บ้านเกษตรสันติราษฎร์ จํานวน 1 หมู่บ้าน ใน 1 จังหวัด ผู้วิจัยกําหนดระเบียบวิธีดังนี้ 1) การกําหนดกลุ่มตัวอย่าง 2) เครื่องมือวิจัย 3) การสร้างเครื่องมือวิจัย 4) วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล 5) ความเชื่อได้ของเครื่องมือวิจัย 6) วิธีการวิเคราะห์ข๎อมูล ผลการวิจัย บริษัทได้นํารูปแบบการพัฒนาองค์กร ซึ่งมีบทบาทต่อสังคมเกษตรและอาหาร ได้ตระหนักถึงคุณภาพชีวิตของข๎าราชการตํารวจหลังเกษียณอายุราชการ ซึ่งเมื่อถึงวันนั้นจําต้อง โยกย้ายที่อยู่อาศัย และหาอาชีพเพื่อสร้างรายได้เลี้ยงครอบครัว ตามแนวคิดในการจัดสรรที่ทํากิน เพื่อเสริมรายได้ และสร้างอาชีพให้มีรายได้อย่างยั่งยืน ทั้งในขณะยังรับราชการ และหลังพ้นจากตําแหน่ง เพื่อฐานะและความมั่นคงต่อสถาบันครอบครัวของข้าราชการตํารวจ หลังเกษียณอายุราชการ ให้เป็นรูปธรรมอย่างยั่งยืน โดยใช้แนวทางหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในพื้นที่โครงการ หมู่บ้านเกษตรสันติราษฎร์ ปัญหา / อุปสรรคในการใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เป็นปัญหาที่เกิดจากวิธีคิดของชาวบ้านในชุมชนที่ยังไม่เข้าใจกระบวนการเรียนรู้ไม่ยอมรับความรู้ใหม่ ๆ และความเคยชินกับการทํางานแบบเดิม ๆ ที่ไม่ยอมให้ความร่วมมือในการเปลี่ยนวิธีการทํา ปัญหาการขัดแย้งที่ยังมีการแก้ปัญหาแบบไม่ถูกต้อง ยังไม่ใช้กระบวนการกลุ่มในการแก้ปัญหาเท่าที่ควร | |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.rights | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.subject | เศรษฐกิจพอเพียง | |
dc.subject | มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการจัดการสาธารณะ | |
dc.title | การนำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้บริหารจัดการใน บริษัท ABC (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน) กรณีศึกษา : โครงการหมู่บ้านเกษตรสันติราษฎร์ | |
dc.title.alternative | Implementing philosophy of sufficiency economy to the mngement of bc public limited compny (thilnd) : cse study of sntirt villge in moo 5, n wng hin sub-district, phnt nikhom district, chon buri province | |
dc.type | วิทยานิพนธ์/ Thesis | |
dc.description.abstractalternative | The research had the following objectives: 1) to study the development model of ABC Public Limited Company (Thailand), a case study of Santirat Village in Moo 5, Na Wang Hin Sub-district, Phanat Nikhom District, Chonburi Province and 2) to study problems and obstacles in implementing the philosophy of sufficiency economy to the management of the company. The study was aqualitative research by using clustering sampling for this case study. Therefore, the researcher chose the management of one village from Chonburi Province which was Santirat Village. The researcher defined the methodology as follows: 1) to determine the sample 2) to determine the instrument, 3) to invent the instrument, 4) to collect data, 5) to test the reliability of the instrument, and6) to analyze the data. The findings revealed that after the implementation of the philosophy of sufficiency economy to develop the organization which had the social role on agriculture and food, there was the awareness of the quality of life of retired police officers. When they retired, they would have to move from the place where they lived and would be able to have income to support their family. Based on the allocation of the land, the management of the Santirat Village was to add more income and to create the occupation providing sustainable income for both working and retired police officers. The implementation of the philosophy of sufficiency economy also substantially and sustainably supported the stability of the family of the police officers after their retirement. To the problems and obstacles of the implementation of the philosophy of sufficiency economy, the villagers didn’t understand the learning process and they rejected acquiring new knowledge. In addition, they were used to working in thetraditional way so that they refused to cooperate in changing the way they worked. The controversial issues were solved incorrectly. They didn’t know how to use group process to solve the problems although they should use it. | |
dc.degree.level | ปริญญาโท | |
dc.degree.discipline | การจัดการสาธารณะ | |
dc.degree.name | บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต | |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | วิทยานิพนธ์ (Theses) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
57710262.pdf | 1.4 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น