กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6168
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | เชษฐ์ ศิริสวัสดิ์ | |
dc.contributor.advisor | ชนวัฒน์ ตันติวรานุรักษ์ | |
dc.contributor.author | เนตรดาว สร้อยแสง | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2023-05-12T02:34:28Z | |
dc.date.available | 2023-05-12T02:34:28Z | |
dc.date.issued | 2560 | |
dc.identifier.uri | https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6168 | |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)-- มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560 | |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบการคิดวิเคราะห์และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาชีววิทยา ของนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 ระหว่าง กลุ่มที่เรียนด้วยการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น ดยเน้นการใช้ประจักษ์พยานทางวิทยาศาสตร์ร่วมกับเทคนิคผังกราฟิกและกลุ่มที่เรียนด้วยการจัดการเรียนรู้แบบปกติมีกลุ่มตัวอย่างในครั้งนี้ คือ นักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ห้องเรียนเน้นวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ภาคเรียนที่ 1 โรงเรียนสุราษฎร์พิทยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี จำนวน 2 ห้องเรียน รวม 88 คน ซึ่งได้มาโดยวิธีการสุ่มแบบกลุ่ม เครื่องมือวิจัย ประกอบด้วย แผนการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น โดยเน้นการใช้ประจักษ์พยานทางวิทยาศาสตร์ร่วมกับเทคนิคผังกราฟิกแผนการจัดการเรียนรู้แบบปกติ แบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาชีววิทยาและแบบทดสอบการคิดวิเคราะห์เรื่อง ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตวิเคราะห์ข้อมูลโดยสถิติทดสอบค่าทีและการวิเคราะห์ความแปรปรวนร่วม ผลการวิจัย พบว่า 1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนชีววิทยาหลังเรียน เรื่อง ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 กลุ่มที่เรียนด้วยการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น โดยเน้นการใช้ประจักษ์พยานทางวิทยาศาสตร์ร่วมกับเทคนิคผังกราฟิกมีสูงกว่ากลุ่มที่เรียนด้วยการจัดการ เรียนรู้แบบปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2. การคิดวิเคราะห์หลังเรียน เรื่อง ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 กลุ่มที่เรียนด้วยการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น โดยเน้นการใช้ประจักษ์พยานทางวิทยาศาสตร์ร่วมกับ เทคนิคผังกราฟิกสูงกว่ากลุ่มที่เรียนด้วยการจัดการเรียนรู้แบบปกติ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนชีววิทยา เรื่อง ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 หลังเรียนด้วยการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น โดยเน้นการใช้ประจักษ์พยานทางวิทยาศาสตร์สูงกว่าก่อนเรียนและสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 70 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 4. การคิดวิเคราะห์เรื่อง ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 หลังเรียนด้วยการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้นโดยเน้นการใช้ประจักษ์พยานทาง วิทยาศาสตร์สูงกว่าก่อนเรียนและสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 70 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 | |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.rights | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.subject | ชีววิทยา -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา) | |
dc.subject | มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาชีววิทยาศึกษา | |
dc.title | ผลการจัดการเรียนรู้แบบวัฎจักรสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น โดยเน้นการใช้ประจักษ์พยานทางวิทยาศาสตร์ร่วมกับเทคนิคผังกราฟิกที่มีผลต่อการคิดวิเคราะห์และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาชีววิทยาของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 | |
dc.title.alternative | The effect of inquiry lerning cycle (7e) with scientific evidence nd grphic orgnizer technique on nlysis thinking nd biology lerning chivement of grde 10thstudents) | |
dc.type | วิทยานิพนธ์/ Thesis | |
dc.description.abstractalternative | The purpose of this research was to compare analysis thinking and biology learning achievement in topic of homeostasis of grade 10 student between experiment group learned through inquiry learning cycle (7E) with scientific evidence and graphic organizer technique and control group learned through conventional teaching model. The sample for this research consisted of 88 grade 10 student who enrolled in Science Math program of Suratpittaya School SuratThani province. They were randomly selected for participating in the experiment using cluster random sampling method. The research instruments consisted of lesson plans based on inquiry learning cycle (7E) with scientific evidence and graphic organizer technique, lesson plans based on conventional teaching model, biology learning achievement test and analysis thinking test. The data were analyzed by t-test and ANCOVA. The research findings were as following. 1. The posttest mean scores of biology learning achievement in topic of homeostasis of grade 10 student who learned through inquiry learning cycle (7E) with scientific evidence and graphic organizer technique higher than those who learned through conventional teaching model at .05 level of significance. 2. The posttest mean scores of analysis thinking in topic of homeostasis of grade 10 student who learned through inquiry learning cycle (7E) with scientific evidence and graphic organizer technique higher than those who learned through conventional teaching model at .05 level of significance. 3. The posttest mean scores of biology learning achievement in topic of homeostasis of grade 10 student after learned through learning cycle (7E) with scientific evidence and graphic organizer techniquehigher than pretest and higher than 70 percent criterion at .05 level of significance. 4. The posttest mean scores of analysis thinking in topic of homeostasis of grade 10 student after learned through learning cycle (7E) with scientific evidence and graphic organizer techniquehigher than pretest and higher than 70 percent criterion at .05 level of significance. | |
dc.degree.level | ปริญญาโท | |
dc.degree.discipline | ชีววิทยาศึกษา | |
dc.degree.name | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต | |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | วิทยานิพนธ์ (Theses) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
57920939.pdf | 1.73 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น