กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6159
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorอิสระ สุวรรณบล
dc.contributor.authorนัฐกิตติ์ บุญมา
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์
dc.date.accessioned2023-05-12T02:27:41Z
dc.date.available2023-05-12T02:27:41Z
dc.date.issued2560
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6159
dc.descriptionงานนิพนธ์ (บธ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560
dc.description.abstractการศึกษาวิจัยครั้งนี้ เพื่อศึกษาแนวโน้มความต้องการใช้บริการเฟอร์รี่ที่เชื่อมเส้นทางการขนส่งระหว่างพัทยา (จังหวัดชลบุรี) ชะอำ (จังหวัดเพชรบุรี) และหัวหิน (จังหวัดประจวบคีรีขันธ์) วิธีการเก็บรวบรวมโดยการสำรวจ (Survey) การวิจัยครั้งนี้สุ่มตัวอย่างทั้งหมด 500 คน โดยกำหนดสัดส่วนของแต่ละพื้นที่ ได้จำนวนแบบสอบถามที่ใช้ในการสำรวจนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติและคนไทยที่เข้ามาท่องเที่ยวในพัทยา, ชะอำ, หัวหิน การใช้บริการเดินเรือเฟอร์รี่ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือดังนี้ สถิติเชิงพรรณนา (Descriptive statistics) ส่วนการทดสอบสมมติฐานสถิติที่เลือกใช้ดังนี้ One-way ANOWA t-test และการทดสอบวิเคราะห์โดยใช้สถิติความถดถอยเชิงพหุแบบขั้นตอน (Multiple regression analysis) ทำการตรวจสอบความอิสระกันของความคลาดเคลื่อน (Testing for autocorrelation) สามารถทำได้โดยใช้วิธีการทดสอบทางสถิติค่าสถิติที่ใช้ทดสอบความเป็นอิสระกันของความคลาดเคลื่อน คือ ค่าสถิติ Durbin-Watson โดยพิจารณาว่าค่าสถิติ Durbin-Watson มีค่าระหว่าง 1.50-2.50 ผลการวิจัย พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามทั้งหมด 500 คน โดยเป็นเพศชาย จำนวน 264 คน คิดเป็นร้อยละ 52.80 รองลงมาเป็นเพศหญิง จำนวน 236 คน คิดเป็นร้อยละ 47.20 มีอายุอยู่ระหว่าง 31-40 ปี จำนวน 153 คน คิดเป็นร้อยละ 30.60 โดยส่วนใหญ่ศึกษาในระดับต่ำกว่าปริญญาตรี จำนวน 296 คน คิดเป็นร้อยละ 59.20 ประกอบอาชีพพนักงานบริษัทเอกชน จำนวน 243 คน คิดเป็นร้อยละ 48.60 มีระดับรายได้เฉลี่ยต่อเดือน ระหว่าง 10,001-20,000 บาท จำนวน 236 คน คิดเป็นร้อยละ 47.20 มีนักท่องเที่ยวชาวไทย จำนวน 388 คน คิดเป็นร้อยละ 77.60 ผลการทดสอบสมมติฐานพบว่า เพศ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพหลักในปัจจุบัน รายได้เฉลี่ยต่อเดือน มีแนวโน้มความต้องการใช้บริการเฟอร์รี่ในเส้นทางระหว่างพัทยา-ชะอำ-หัวหิน ไม่แตกต่างกัน ส่วนผลการทดสอบสมมติฐานพบว่าเชื้อชาติมีแนวโน้มความต้องการใช้บริการเฟอร์รี่ ในเส้นทางระหว่างพัทยา-ชะอำ-หัวหิน แตกต่างกัน ผลการทดสอบสมมติฐานพบว่ามาตราฐานเรือ ด้านมาตรการเกี่ยวกับกิจกรรม มีอิทธิพลต่อแนวโน้มความต้องการใช้บริการเฟอร์รี่ในเส้นทางระหว่าง พัทยา-ชะอำ-หัวหินของนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติและคนไทย ผลการทดสอบสมมติฐานพบว่าปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด ด้านการส่งเสริมการขาย มีอิทธิพลต่อแนวโน้มความต้องการใช้บริการเฟอร์รี่ ในเส้นทางระหว่างพัทยา-ชะอำ-หัวหินของนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติและคนไทย
dc.language.isoth
dc.publisherวิทยาลัยพาณิชยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectเรือโดยสาร
dc.subjectเรือเฟอร์รี่
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการจัดการธุรกิจโลก
dc.subjectการเดินทาง
dc.subjectการขนส่งทางน้ำ -- บริการลูกค้า
dc.titleแนวโน้มความต้องการใช้บริการเฟอร์รี่ที่เชื่อมเส้นทางการขนส่งระหว่างพัทยา (จังหวัดชลบุรี) ชะอำ (จังหวัดเพชรบุรี) และหัวหิน (จังหวัดประจวบคีรีขันธ์)
dc.title.alternativeThe decision is likely to ffect ferry services connecting trnsporttion routesbetween ptty (chonburi), chm (phetchburi) nd hu hin (prchup khiri khn
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeThe research had objective to study the tendency of the need to use the ferry service connecting transportation routes among Pattaya (Chonburi), Chaam (Pechaburi), and Hua Hin (Prachuap Khiri Khan). Survey was the method of data collection. There were 500 samples chosen with stratified random sampling. The proportion of the samples was determined in each region. Questionnaires were distributed to both Thai and foreign tourists using ferry service in each region: Pattaya, Chaam, and Hua Hin. Descriptive statistics were used for data analysis. For hypotheses testing, One-Way ANOWA T- test and Multiple regression analysis were used. For testing for autocorrelation, Durbin -Watson was used to test the independence of error by considering whether its value was between 1.50 and 2.50. The findings revealed that there were 500 respondents. There were 264 male respondents accounting for 52.80 %. There were 236 female respondents accounting for 47.20 %. 153 respondents (30.60%) had the age range of 31-40 years. 296 respondents (59.29 %) had a bachelor’s degree. 243 respondents (48.60 %) were private sector employees. 236 respondents (47.20 %) had average monthly income of 10,001 -20,000 baht. 388 respondents (77.60 %) were Thai tourists. From hypotheses testing, it was found that respondents with different gender, age, educational level, current occupation, and average monthly income had no difference in the tendency of the need to use the ferry service connecting transportation routes among Pattaya (Chonburi), Chaam (Pechaburi), and Hua Hin (Prachuap Khiri Khan. For hypothesis testing, it was found that respondents with different nationality had difference in the tendency of the need to use the ferry service connecting transportation routes among Pattaya (Chonburi), Chaam (Pechaburi), and Hua Hin (Prachuap Khiri Khan. From hypotheses testing, the standard of the ferry and measures concerning activities influenced the tendency of Thai and foreign tourists’ need to use ferry service, connecting transportation routes among Pattaya, Chaam and Hua Hin. For hypothesis of marketing mix factors, it was found that promotion influenced the tendency of Thai and foreign tourists’ need to use ferry service, connecting transportation routes among Pattaya, Chaam and Hua Hin
dc.degree.levelปริญญาโท
dc.degree.disciplineการจัดการธุรกิจโลก
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:วิทยานิพนธ์ (Theses)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
57710260.pdf3.5 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น