กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/609
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorอัมพร ทองกู้เกียรติกูล
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T08:52:01Z
dc.date.available2019-03-25T08:52:01Z
dc.date.issued2541
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/609
dc.description.abstractหอยนางรมเป็นหอยที่มีคุณค่าทางเศรษฐกิจและมีคุณค่าอย่างยิ่งทางโภชนาการ เพราะประกอบด้วยแร่ธาตุอาหารและเกลือแร่ต่าง ๆ หลายชนิด หอยนางรมเป็นหอยที่เลี้ยงง่ายและมีราคาดี ดี ในปีหนึ่ง ๆจะมีการบริโภคหอยนางรมเป็นจำนวนมาก ผลผลิตที่ได้จึงยังไม่เพียงพอกับการบริโภค ดังนั้นจึงต้องมีการปรับปรุงพันธุ์หอยให้มีขนาดใหญ่ น้ำหนักเพิ่มขึ้น มีอัตราการอยู่รอดเพิ่มขึ้น การศึกษาลักษณะ จำนวน และชนิดของโครโมโซม จะมีประโยชน์อย่างยิ่ง ในการนำไปใช้เป็นข้อมูลขั้นพื้นฐาน ในการปรับปรุงพันธุ์ การผสมข้ามพันธุ์ การทำให้จำนวนโครโมโซมเป็นทริพพลอยด์ (triploid) หรือ เตตระพลอยด์ (tetraploid) ซึ่งอาจทำให้ได้ผลผลิตมากขึ้นและคุณภาพดีขึ้น วัตถุประสงค์ เพื่อหาวิธีการที่เหมาะสมที่จะศึกษาโครโมโซมจากเซลล์เหงือก และศึกษาคาริโอไทป์ของหอยนางรมปากจีบ สรุปผลการทดลอง จากการศึกษาจำนวนของโครโมโซมของหอยนางรมปากจีบ จำนวน 10 เซลล์ พบว่ามีโครโมโซมทั้งหมด 10 คู่ และจากการศึกษาคาริโอไทป์ พบว่า คู่ที่ 1,2,3,5,7,8 และ 10 เป็นเมตราเซนตริก (metracentric) คู่ที่ 4,6 c]t 9 เป็นซับเม- ตราเซนตริก (submetracentric)th_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectหอยนางรมปากจีบth_TH
dc.subjectหอยนางรมth_TH
dc.subjectหอยนางรมปากจีบ - - การปรับปรุงพันธุ์th_TH
dc.subjectหอยนางรมปากจีบ - - การเลี้ยงth_TH
dc.subjectสาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยาth_TH
dc.titleผลของการเปลี่ยนแปลงฤดูกาลที่มีต่อสารประกอบชีวเคมีและระบบสืบพันธุ์ในหอยนางรมที่เลี้ยงในบริเวณอ่างศิลาth_TH
dc.typeResearch
dc.year2541
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
ไม่มีแฟ้มใดที่สัมพันธ์กับรายการข้อมูลนี้


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น