กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/591
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorปภาศิริ บาร์เนทth
dc.contributor.authorคเชนทร เฉลิมวัฒน์th
dc.contributor.authorชนวัฒน์ ตันติวรานุรักษ์th
dc.contributor.authorอาดูลย์ มีพูลth
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T08:51:59Z
dc.date.available2019-03-25T08:51:59Z
dc.date.issued2553
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/591
dc.description.abstractการสำรวจความชุกของหนอนตัวแบนปรสิตและการเจริญเติบโตของหอยแมลงภู่ในแปลงเลี้ยงแบบไม้ไผ่ ตามชายฝั่งชลบุรีที่บางทราย อำเภอ ชลบุรี อ่างศิรา และที่คลองด่าน จังหวัดสมุทรปราการและการเลี้ยงแบบแพแขวนพวงหอยที่ บางพระ ศรีราชา และแหลมท้าวเทวา พบว่าหนอนตัวแบนมีการระบาดจากการเลี้ยงแบบแพมากกว่าแบบไม้ไผ่ ทั้งนี้หนอนจะอาศัยในหอยขนาดใหญ่ ที่ยังไม่เก็บขายจากแพและจะกระจายไปยังพวกหอยรุ่นขนาดเล็ก โดยหอยตัวใหญ่พบหนอนในช่วง เดือนธันวา 2552 (ปริมาณหนอนประมาณ 50-400 ตัวต่อหอยแมลงภู่ 30 ตัว) เดือนกุมภาพันธุ์ 2553 (ปริมาณหนอนประมาณ 50-700 ตัวต่อหอยแมลงภู่ 30 ตัว) เดือนมีนาคม(ปริมาณหนอนประมาณ 200-1200 ตัวต่อหอยแมลงภู่ 30 ตัว) และสัมพันธ์กับความเค็มที่สูง การระบาดในเดือนเมษายนมีน้อยมาก และไม่พบการระบาดจนถึงจับขายในเดือนกันยายน การเจริญเติบโตหอยแมลงภู่ดีที่สุด คือ ที่แหลมท้าวเทวาคล้ายกับที่ศรีราชาและบางพระ แต่มีการระบายของหนอนรุนแรง โดยค่าดัชนีสุขภาพเปอร์เซ็นต์น้ำหนักเนื้อหอยแมลงผู้ต่อน้ำหนักทั้งหมดมีค่าสูงกว่า 25% แต่มีคลองด่านและอ่างศิลา และหอยมีการเจริญเติบโตไม่ดี คือ ที่บางทรายและอำเภอเมืองชลบุรีโดยค่าดัชนีสุขภาพเปอร์เซ็นต์น้ำหนักเนื้อหอยแมลงผู้ต่อน้ำหนักทั้งหมด ต่ำกว่า 25.0% พบว่าอัตราการตายของหอยตัวเป็นและตัวตายในแต่ละพวงหอยในช่วงเดือนมีนาคม ถึง มิถุนายน 2553 มีค่าการตาย 0%ไปจนถึง23%และหอยแมลงภู่มีอีตราการตายสูงสุดในช่วงเดือนกรกฏาคมและเดือนสิงหารคม2553ประมาณ 14.9%-60.5% ผลการตรวจค่าน้ำทะเลมี ค่าละลายออกซิเจน ค่าความเป็นกรดเป็นด่างอุณหภูมิน้ำ ทุกค่าส่วนใหญ่ได้มาตรฐานการเจริญเติบโตของหอยแมลงภู่ทั้ง 7 สถานี การศึกษาในครั้งนี้บ่งชี้ควรหาแนวทางแก้ไขในบางเวลา ต่อการระบาดของหนอนตัวแบบในฟาร์มหอยแมลงผู้เลี้ยงแบบแขวน We report on finding from a survey of parasitic flatworms Turbellaria in relation to growth of bamboo stake farmed geen mussels at Bang Sai, Muang and Ang Sila in Chonburi Province as well as Klong Dan in Samut Prakarn provinces in conjunction with raft cultured green mussels in Laem Tao Thewa, Bamgpra and Sri Racha in Chon Buri Province . It is concluded that the parasitic flatworms are more prevalent on the raft culture operationa with high flatworm densities fondin in large mussels that arw awaiting harvest. These mussels seem to be the source for infection to smaller. Infection in the large mussels wes found in December(2009) at average densities of 50-400/30 mussels, leading to infection of small mussels at average densities of 50-300/30 mussels, leading to infection of small mussels at average densities of 50-300/30 mussels in January (2010),50-700/30 mussels in February and 200-1200/30 mussels in march (2010), with corresponding to high seawater salinity. Little infestation was found in all sites in April while no infection was observed from all sites after April until harvest time in September, 2554. Growth of mussels is highest at Laem Tao Thewa, moderate at Sri Racha and Bang Phra , corresponding with the percentage health to body mass of green mussels was higher than 25%. However, mortality rate was 0 to 23%(dead mussel per total mussel)observed during March to June,2554 but high mortality was at 14.9-60.5% (dead mussel per total mussel) during July to August. The percentage health to body mass of green mussels was lower than 25% with corresponding mortalities highest in April (2010) at 20-25% at Laem Tao Thawa and Sriracha. Water quality monitored at 7 stations covering the study areas was within national standards set by the Royal Thai government for coastal aquaculture.th_TH
dc.description.sponsorshipทุนสภาวิจัยแห่งชาติ ประจำปี 2553en
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectสาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยาth_TH
dc.subjectหนอนพยาธิth_TH
dc.subjectหอยแมลงภู่ - - การเลี้ยง - - ชลบุรีth_TH
dc.subjectหอยแมลงภู่ - - ปรสิต - - การควบคุมth_TH
dc.subjectหอยแมลงภู่ - - ปรสิตth_TH
dc.titleการระบาดของหนอนตัวแบนปรสิตในหอยแมลงภู่จากแปลงเลี้ยงในจังหวัดชลบุรีและการกำจัดหนอนจากลูกหอยแบบพวงที่ขายเชิงพาณิชย์. (ปีที่ 1 ของโครงการต่อเนื่อง 2 ปี)th_TH
dc.title.alternativeEpidermiology and treatment of parasitic flatworm infestation in marketed green mussel (Perna viridis Linnaeus) from sea-farms in Chon Buri Provinceth_TH
dc.typeResearchth_TH
dc.year2553
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
ไม่มีแฟ้มใดที่สัมพันธ์กับรายการข้อมูลนี้


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น