กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/586
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | บัญชา นิลเกิด | th |
dc.contributor.author | ชลี ไพบูลย์กิจกุล | th |
dc.contributor.author | เบ็ญจมาศ ไพบูลย์กิจกุล | th |
dc.contributor.author | มลฤดี สนธิ | th |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตจันทบุรี. คณะเทคโนโลยีทางทะเล | |
dc.date.accessioned | 2019-03-25T08:51:59Z | |
dc.date.available | 2019-03-25T08:51:59Z | |
dc.date.issued | 2552 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/586 | |
dc.description.abstract | การศึกษาการกระตุ้นการสืบพันธุ์ของหอยหวาน ด้วยอุณหภูมิ 23, 30 และ 32 องศาเซลเซียส โดยมีอุณหภูมิ 27 องศาเซลเซียสเป็นชุดควบคุม พบว่าการกระตุ้นด้วนอุณหภูมิสูงที่ 32 องศาเซลเซียส นั้นพบว่า ให้จำนวนฝักไข่ต่อเดือนเฉลี่ยสูงที่สุดที่ 917 ฝัก มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญ (p<0.05) จากชุดการทดลองควบคุม และอุณหภูมิ 23 องศาเซลเซียส และไม่แตกต่างอย่างมีนัยสำคัญ(p<0.05) ขนาดของฝักไข่ จำนวนฝักไข่ และ ขนาดความยาวเปลือกเฉลี่ยของลูกหอยระยะ veliger ส่วนกระตุ้นการสือพันธุ์ด้วยความเค็มที่แตกต่างกัน 4 ระดับ คือ 20,25,30 และ 35 PUS โดยมีชุดการทดลองความเค็ม 30 PUS เป็นชุดควบคุม พบว่าการกระตุ้นด้วยความเค็ม 20 PUS ให้ปริมาณฝักไข่เฉลี่ยต่ำที่สุด 352 ฝักต่อเดือน ซึ่งมีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญ(p<0.05)จากชุดควบคุมที่ความเค็ม 30 PUS และชุดการทดลองความเค็ม 25 และ 35 PUS และไม่แตกต่างอย่างมีนัยสำคัญ(p<0.05)ขนากของไข่ฝัก จำนวนไข่ในฝัก และ ขนาดความยาวเปลือกเฉลี่ยของลูกหอยระยะ veliger ส่วนการกระตุ้นการสืบพันธุ์ด้วยฮอรโมนเอสโตรเจน และเทศโทสเตอโรน ให้ผลลักษณะคล้ายกันคือ ชุดการทดลองควบคุม ให้ปริมาณฝักไข่เฉลี่ยนสูงสุดโดยที่ขนาดฝักไข่ จำนวนไข่ในฝัห และขนาดความยาวเปลือกของลูกหอยระยะvileger ไม่มีความแตกต่างกัน | th_TH |
dc.description.sponsorship | ทุนอุดหนุนการวิจัย ประจำปีงบประมาณ 2552 สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ | en |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | คณะเทคโนโลยีทางทะเล. มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตจันทบุรี | th_TH |
dc.subject | หอยหวาน - - การสืบพันธุ์ | th_TH |
dc.subject | หอยหวาน - - การเลี้ยง | th_TH |
dc.subject | หอยหวาน - - ไข่ - - การฟัก | th_TH |
dc.subject | สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา | |
dc.title | การเพิ่มประสิทธิภาพของการสืบพันธุ์ในหอยหวาน (Babylonia areolata LinK, 1807) โดยการกระตุ้นด้วยอุณหภูมิ ความเค็ม และฮอร์โมน | th_TH |
dc.title.alternative | Increasing efficiency of babylonia areolata link, 1870 reprodction by temperature, salinity and analog hormone activation. | en |
dc.type | Research | |
dc.year | 2552 | |
dc.description.abstractalternative | The study of reproductive activation of sweet shellfish with temperatures 23,30 and 32 degrees Celsius, with temperatures 27 degrees Celsius for control. Results induced by high temperature at 32 degrees Celsius, it was found that the number of egg capsules per month average maximum of 917 capsules significantly (p<0.05) from control treatment and temperature 23 degrees Celsius. No difference significant (p>0.05) the size of egg capsule, nimber of eggs in egg capsule and length shell average of veliger larvae. The stimulation of reproduction by the salinity difference is 20, 25, 30 and 35 PSU with. treatment of salinity 30 PSU as controls. Found that stimulation with salinity 20 PSU for the lowest average amount of egg capsules to 253 capsules per month which differ significantly (p<0.05) from control at salinity 30 PSU and treatment of salinity 25 and 35 PSU, and no difference was signifucantly (p>0.05) of size egg capsules, number of eggs in egg capsule and the average shell length of the veliger larvae. In this study, stimulation of reproduction by hormones estrogen and testosterone similar to the control treatment, with a maximum average amont of egg capsules. The sizes of egg capsules, number of egg capsules and the length of the veliger shell no different. | en |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | รายงานการวิจัย (Research Reports) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
ไม่มีแฟ้มใดที่สัมพันธ์กับรายการข้อมูลนี้
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น