กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/572
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorเรวัต แสงสุริยงค์
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T08:51:58Z
dc.date.available2019-03-25T08:51:58Z
dc.date.issued2542
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/572
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ที่จะศึกษาว่า 1) ความเป็นเมืองในเขตอำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี และอำเภอเมืองระยอง จังหวัดระยอง มีความสัมพันธ์กับความเป็นอุตสาหกรรมของนิคมอุตสาหกรรมแหลมฉบังและมาบตาพุดหรือไม่ 2) ความเป็นเมืองที่เกิดขึ้นในเขตอำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี และอำเภอเมืองระยอง จังหวัดระยองมีผลทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดินในเขตอำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี และอำเภอเมืองระยอง จังหวัดระยองอย่างไร โดยวิเคราะห์จากข้อมูลที่เป็นสถิติของหน่วยงานราชการในพื้นที่ และข้อมูลเชิงพื้นที่จากภาพถ่ายดาวเทียม ผลการศึกษาพบว่า 1. ความเป็นเมืองในเขตอำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี และอำภเอเมืองระยอง จังหวัดระยอง มีการเปลี่ยนแปลงเชิงบวกในทิศทางเดียวกับความป็นอุตสาหกรรมในนิคมอุตสาหกรรมแหลมฉบังและมาบตาพุด 2. ความเป็นเมืองในเขตอำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี และอำเภอเมืองระยอง จังหวัดระยอง มีการเปลี่ยนแปลงเชิงบวกในทิศทางเดียวกับการใช้ที่ดินด้านที่อยู่อาศัย ที่ดินว่างเปล่า และ แหล่งน้ำ 3. ความเป็นเมืองในเขตอำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี และอำเภอเมืองระยอง มีการเปลี่ยนแปลงเชิงลบในทิศทางตรงข้ามกับการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดินด้านเกษตรกรรม และป่าไม้ ดังนั้นหน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรกำหนดนโยบายในการพัฒนา ดังนี้ 1) ด้านอุตสาหกรรมควรสนับสนุนให้มีการพัฒนาอุตสาหกรรมที่ใช้วัตถุดิบที่สอดคล้องกับผลผลิตของท้องถิ่นที่เป็นการเกษตรกรรมและการประมงเพื่อส่งเสริมการสร้างงานของท้องถิ่นให้ครบวงจร 2) ด้านที่อยู่อาศัย ควรพัฒนาที่อยู่อาศัยสำหรับผู้มีรายได้ต่ำและปานกลาง เพื่อป้องกันการเกิดที่อยู่อาศัยแบบชุมชนแออัด 3) ด้านการใช้ที่ดิน ควรมีการวางแผนการใช้ที่ดินให้เกิดประโยชน์ต่อเศรษฐกิจและสังคมของท้องถิ่นมากที่สุด โดยเฉพาะพื้นที่เกษตรกรรม แหล่งน้ำ และป่าไม้ซึ่งเป็นพื้นที่ที่ มีความสัมพันธ์เชิงลูกโซ่เกี่ยวกันกับคุณภาพชีวิตของประชากรในท้องถิ่นth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด - - ภาวะสังคมth_TH
dc.subjectนิคมอุตสาหกรรมแหลมฉบัง - - ชลบุรีth_TH
dc.subjectสังคมวิทยาอุตสาหกรรม - - ชลบุรีth_TH
dc.subjectสังคมวิทยาอุตสาหกรรม - - ระยองth_TH
dc.subjectสาขาสังคมวิทยาth_TH
dc.titleการศึกษาการเปลี่ยนแปลงของชุมชนเมือง บริเวณนิคมอุตสาหกรรมแหลมฉบัง และมาบตาพุดth_TH
dc.title.alternativeA study of change in Urban communities of Laem Chabang and map Ta Put industrial estatesen
dc.typeResearch
dc.year2542
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this study is to examine 1) the relationship between urbanization in Sriracha District, Chonburi Province and Muang Rayong District, Rayong Province and the industrialization in Leam Chabang and Map Ta Put Industrial Estates; 2) the effects of urbanization in Sriracha and Maung Rayong on land use. The study utilized statistical data from local government offices and spatial data from satellite imaging. The three major findings of the study are: 1) Urbanization in Sriracha and Maung Rayong has a direct, positive relationship with the industrialization in Laem Chabang and Map Ta Put Industrial Estates: 2) Urbanization in Sriracha and Maung Rayong has increased the amount of land used for residential. public, and water purposes: and 3) Urbanization in Sriracha and Maung rayong has a negative effect on agriculture and forestry land use. Three recommendations are made to government and private organizations involved in social and economic development. First, industrial development should be based on the natural resources of a particular community, such as agriculture and fishing. Second, housing development should be aimed at low and middle income families in order to prevent slums from arising. Third, land use planning maximizes the social and economic benefits for local communities.en
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม ขนาดรูปแบบ 
2567_170.pdf89.42 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น