กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/54
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | นัญฑา ผลิตวานนท์ | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2019-03-25T08:45:45Z | |
dc.date.available | 2019-03-25T08:45:45Z | |
dc.date.issued | 2545 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/54 | |
dc.description.abstract | การศึกษาในครั้งนี้เป็นการศึกษาเจตคติต่อคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสมัยใหม่ โดยสำรวจเจตคติของนักเรียน ครู และนักเรียน กลุ่มตัวอย่างในการศึกษาครั้งนี้คือครูที่สอนในระดับมัธยมศึกษาและนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 จาก 3 โรงเรียนภาคตะวันออกในจังหวัดชลบุรีและจังหวัดระยอง เป็นโรงเรียนประจำจังหวัดหญิง โรงเรียนประจำจังหวัดชาย และโรงเรียนสหศึกษา แบบสอบถามที่ได้รับจากครู 3 โรงเรียน 270 ฉบับ นักเรียน 1,768 ฉบับ สำหรับกลุ่มอาจารย์คณะครุศาสตร์ คณะศึกษาศาสตร์จาก 4 มหาวิทยาลัย เก็บแบบสอบถามได้ 177 ฉบับแบบสอบถามที่ใช้ในการสำรวจนี้ แบบสอบถาม 3 ชุดคือ แบบสอบถามเจตคติต่อคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ เจตคติของครู นักเรียน และอาจารย์ ซึ่งแบบสอบถามเรียบเรียงจากแบบสอบถามของคริสเตนเซ่นและคาเนเซค มหาวิทยาลัยนอร์ทเท็กซัส รัฐเท็กซัส สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที (t-test) และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (one-way ANOVA)จากการสำรวจเจตคติต่อคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศของนักเรียน 9 ด้าน ได้ดังนี้ ด้านความสำคัญ ( x = 3.87) ด้านความเพลิดเพลิน (x = 3.91) ด้านการเสริมแรง (X=3.61) ด้านนิสัยการเรียน (X=3.75) ด้านความเห็นอกเห็นใจ (X=3.87) ด้านความคิดสร้างสรรค์ (X=3.59) ด้านโรงเรียน (X=3.50) ด้านความวิตกกังวล (X=3.69) ด้านจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ (X=3.55) เมื่อเปรียบเทียบระหว่างโรงเรียนพบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .001 ในด้านความสำคัญด้านพัฒนาการ ด้านพัฒนาการ ด้านนิสัยในการเรียน ด้านความเห็นอกเห็นใจ และพบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติระดับ .05 ด้านความเพลิดเพลินและด้านความคิดสร้างสรรค์ เมื่อเปรียบเทียบเจตคติของนักเรียนระหว่างเพศ พบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .001 ด้านความสำคัญ ด้านนิสัยการเรียน ด้านความเห็นอกเห็นใจ ด้านโรงเรียน พบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05 ด้านพัฒนาการ เจตคติทุกด้านนักเรียนหญิงสูงกว่านักเรียนชาย การสำรวจเจตคติต่อคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศของครู 7 ด้าน ได้ดังนี้ ด้านความสำคัญ (X=3.78) ด้านความเพลิดเพลิน (X=3.42) ด้านความวิตกกังวล (X=3.42) ด้านความกระตือรือร้น (X=3.68) ด้านผลผลิตในห้องเรียน (X=3.93) ด้านผลผลิต (X=3.74) ด้านจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ (X=3.40) เมื่อเปรียบเทียบเจตคติของครูระหว่างโรงเรียน ไม่พบความแตกต่างที่นัยสำคัญทางสถิติในแต่ละด้าน เมื่อเปรียบเทียบระหว่างเพศพบความแตกต่างที่นัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ด้านความสำคัญ และเมื่อเปรียบเทียบตามระดับอายุพบความแตกต่างที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ด้านความเพลิดเพลิน ด้านความวิตกกังวล และด้านความกระตือรือร้น และจากการสำรวจเจตคติต่อคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศของเจตคติของอาจารย์ 5 ด้าน ได้ดังนี้ ด้านความกระตือรือร้น/ความเพลิดเพลิน (X=3.98) ด้านความวิตกกังวล (X=4.03) ด้านการหลีกเลี่ยง (X=3.75) ด้านการใช้จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ในห้องเรียน (X=3.55) ด้านการเพิ่มประสิทธิผลในห้องเรียน (X=3.85) เมื่อเปรียบเทียบเจตคติของอาจารย์ระหว่างมหาวิทยาลัย ระหว่างเพศ ไม่พบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญในแต่ละด้านพบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05 ด้านความวิตกกังวลเมื่อเปรียบเทียบตามวุฒิการศึกษา และพบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05 ด้านความกระตือรือร้น/ความเพลิดเพลิน และด้านความวิตกกังวล เมื่อเปรียบเทียบตามระดับอายุ | th_TH |
dc.description.sponsorship | รายงานการวิจัยนี้ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากงบประมาณแผ่นดิน ปีงบประมาณ 2543 ทบวงมหาวิทยาลัย | en |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.subject | สาขาการศึกษา | th_TH |
dc.subject | เทคโนโลยีทางการศึกษา - - การประเมิน | th_TH |
dc.subject | เทคโนโลยีสารสนเทศ - - การประเมิน | th_TH |
dc.title | การประเมินระยะยาวเจตคติต่อเทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่ในการศึกษา | th_TH |
dc.title.alternative | Longitudianal assessment of new information technology attitudes in education. | en |
dc.type | งานวิจัย | th_TH |
dc.year | 2545 | |
dc.description.abstractalternative | This study was survey student teachers and faculties attitudes toward information teachnology. The sample used in this study were 1768 grade eight students from three public schools of eastern part of Thailand. One boysschool, one girls school and one co-educational school. Two hundred seventy teachers who taught in these three secondary schools and one hundred seventy-seven faculties who yaught in Department of Education from four University in Thailand.The questionnaires used in this surveys were : Computers Attitude Toward Computer (CAQ ver 3.1), Teachers Attitude toward Computer 151 items (TAC ver2.1) and Faculties Attitude toward Information Technology (FAIT ver 1.1) All questionnaires were developed by Christensen and Knezek, Taxas center for Educational Technology, University of North Texas, Denton, Texas. The Questionnaires were translated into Thaiby researcher and assistants and were validate for the content and used of Thai language by two Professors at Burapha University. The statistics used in analyzing the data were percentage, mean, standard deviation, t-test and one-way analysis of varianceThe data were collected during July-August 2000, which were the first semester of academic year 2000. The result of study were concluded that for student did surveys in 9 ares as following : computer important (X=3.87) computer enjoyment (X=3.91) motivation (X=3.61) study habits (X=3.75) empathy (X=3.87) creative (X=3.59) school (X=3.50) anxiety (X=3.69) e-mail (X=3.55). Compare student attitudes between 3 schools using ANOVA found significant difference at .001 in important, Motivation, Study habit and Empathy and found significant different at .05 in Enjoyment and Creative. Compare student attitudes between sex using T-test found significant difference at .001 in Important, study habits empathy, school and founded significant difference at .05 in Motivation in all areas girls' attitudes higher than boys. For teachers surveyed in 7 areas which are : Computer Important (X=3.78) Computer Enjoyment (X=3.42) Anxiety (X=3.42) Enthusiasm (X=3.68) Productivity in Classroom (X=3.93) Productivity (X=3.74) E-mail (X=3.40). Compare teachers attitudes between 3 school there no significant difference between those 3 schools in each areas and when compare between sex of teachers using independent t-test there are significant difference at .05 in Important. Comparing between age groups using ANOVA there are significant difference at .05 in Computer enjoyment Anxiety and Enthusiasm. For faculties surveyed in 5 areas the result founded as following : Enthusiasm/Enjoyment (X=3.98) Anxiety (X=4.03) Avoidance (X=3.75) e-mail use in classroom (X=3.55) Productivity in classroom (X=3.85). Compare faculties' attitudes between university using ANOVA founded no significant in each areas. Also there are no significant difference between sex of faculties. There are founded significant difference at .05 between level of education in Anxiety and between age groups in Enthusiasm/ Enjoyment and Anxiety. | en |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | รายงานการวิจัย (Research Reports) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|
2545_017.pdf | 8.72 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น