กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/546
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | แก้วตา คณะวรรณ | th |
dc.contributor.author | สุชาดา กรเพชรปาณี | th |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2019-03-25T08:51:56Z | |
dc.date.available | 2019-03-25T08:51:56Z | |
dc.date.issued | 2542 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/546 | |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ทำการสังเคราะห์งานวิจัยวิธีการเรียนการสอนและรูปแบบการเรียนการสอนวิชาภาษาไทย ระดับประถมศึกษา เพื่อค้นหาว่ามีวิธีการเรียนการสอนแบบใดที่สร้างทักษะการเรียนรู้ได้ด้วยตนเองให้กับนักเรียน งานวิจัยที่นำมาสังเคราะห์เป็นงานที่พิมพ์เผยแพร่ระหว่างพ.ศ. 2553 – 2541 งานวิจัยที่ผ่านเกณฑ์ตามแบบการประเมินคุณภาพ จำนวน 170 เรื่อง เป็นงานที่มีข้อมูลสถิติครบถ้วนนำมาวิเคราะห์แบบ เมตต้า ได้จำนวน 134 เรื่อง และวิเคราะห์เชิงคุณภาพด้วย การวิเคราะห์เนื้อหาจำนวน 26 เรื่อง ผลการสังเคราะห์เชิงปริมาณปรากฏว่า วิธีการเรียนซึ่งมี 2 วิธีนั้น วิธีการเรียนด้วยตนเองมีอิทธิพลต่อผลการเรียนภาษาไทยมากกว่าวิธีการเรียนจากเพื่อน วิธีเรียนด้วยตนเองแสดงผลดีต่อการเรียนทักษะทางภาษาและผลสัมฤทธิ์ วิธีเรียนจากเพื่อนมีอิทธิพลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนประถมปลายน้อย วิธีการสอนมี 3 วิธี คือ วิธีสอนแบบใช้สื่อ แบบใช้กิจกรรม และแบบสื่อประสมกิจกรรม วิธีการสอนแบบใช้สื่อ เป็นวิธีที่ใช้ทั่วไปในการสอนทั้งประถมต้นและปลาย และมีอิทธิพลต่อผลการเรียนระดับปานกลาง รูปแบบการสอนซึ่งเป็นวิธีเฉพาะส่วนใหญ่ใช้กับการเรียนการสอนระดับประถมปลาย และมีอิทธิพลต่อผลการเรียนน้อย เมื่อวิเคราะห์ความแปรปรวนพบว่า วิธีการเรียน 2 วิธี วิธีการสอน 3 วิธี วิธีและรูปแบบการเรียนการสอนมีอิทธิพลต่อการเรียนภาษาไทยไม่แตกต่างกัน เมื่อเปรียบเทียบด้วยค่า t ระหว่างนักเรียนประถมต้นและปลาย พบความแตกต่างเพียงอย่างเดียว คือ นักเรียนประถมปลายแสดงผลสัมฤทธิ์ที่ดีกว่านักเรียนประถมต้น เมื่อสอนด้วยวิธีการสอนแบบใช้สื่อ การวิเคราะห์เชิงคุณภาพสอดคล้องกับเชิงปริมาณ วิธีการเรียนด้วยตนเองโดยใช้สื่อการเรียนต่างๆที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นและมีคุณภาพตามเกณฑ์ เมื่อนำไปใช้ นักเรียนจะมีผลการเรียนตามเกณฑ์ 80/80 วิธี การสอนนั้นครูส่วนใหญ่สอนตามคู่มอครู และใช้หนังสือแบบเรียนของกระทรวงศึกษาธิการ รูปแบบการสอนแบบมุ่งประสบการณ์ภาษาได้รับการยอมรับและชื่นชมจากครู ผู้บริหาร ผู้ปกครอง ไม่มีงานวิจัยที่ฝึกให้นักเรียนมีทักษะการเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง ความคิดเกี่ยวกับการเรียนรู้ที่ยั่งยืนไม่เป็นที่รู้จักในหมู่ครู และนักการศึกษา ถ้าจะเริ่มต้นสอนและฝึกการเรียนรู้ที่ยั่งยืน สามารถเริ่มต้นด้วยการพัฒนาจากวิธีการเรียนด้วยตนเอง | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.subject | การศึกษาขั้นประถม | th_TH |
dc.subject | ภาษาไทย - - การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา) | th_TH |
dc.subject | สาขาการศึกษา | th_TH |
dc.title | การสังเคราะห์งานวิจัยวิธีการเรียนวิธีการสอน รูปแบบการเรียนการสอนที่ส่งผลต่อกระบวนการเรียนรู้ ที่ยั่งยืนของเด็กไทย วิชาภาษาไทย ระดับประถมศึกษา | th_TH |
dc.title.alternative | A synthesis study of researches about learning methods, teaching methods and models of teaching Thai language that effect A sustainable learning process in Thai elementary school children | en |
dc.type | Research | |
dc.year | 2542 | |
dc.description.abstractalternative | The purpose of this synthesis study was to investigate the researches about learning methods, teaching methods and models of teaching Thai language in elementary schools whet=her there were any methods those create a skill of sustainable learning. The researches subjected to be synthesized were those met the criteria of quality assessment. The number was 170; among these only 134 provided with all necessary statistical data were synthesized with Meta – Analysis method. The rest, 26 researches were treated with content analysis. According to the quantitative analysis, it was found that there were two of learning methods, independent learning and peer learning showed great influence on learning language skills and achievement. Peer learning showed some influence on achievement in upper elementary graders. There were three methods of teaching : using instructional media, using activities and combination of two. Teaching by using instructional media was generally used in upper and lower grades. The method showed average influence on learning outcome. Models of teaching showded some influence on lerning outcome. They were used in upper grades. When one – way Analysis of Variance was futher used; there was no significant difference among the learning, teaching methods and models of teaching. When learning outcomes of the upper and lower grades were compared by t score, a single difference was found. The upper graders had better achievement than lower graders when they were taught with the method of using instructional media. The qualitative analysis was concurrent with quantitative analysis. An independent stydy using qualified media constructed by a researcher promoted students achievement to the 80/80 criteria. For teaching methods, most teachers taught with method prescribed in teachers manual issued by Ministry of Education. Model of teaching named Language Experience. Was accepted and admired by teachers administrators and parents. There were no researches those trained self – help learning skills. This could be the concept of sustainable learning was yet not khown among personnels in education. If the concept was aimed to be executed, the training could be developed from the independent study learning method. | en |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | รายงานการวิจัย (Research Reports) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|
2568_050.pdf | 4.21 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น