กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/515
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorเรณา พงษ์เรืองพันธุ์th
dc.contributor.authorประสิทธิ์ พงษ์เรืองพันธุ์th
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะพยาบาลศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T08:51:53Z
dc.date.available2019-03-25T08:51:53Z
dc.date.issued2540
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/515
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงศ์เพื่อ ศึกษาระดับความพึงพอใจในชีวิตของผู้สูงอายุ ในเขตพัฒนาชายฝั่งทะเลภาคตะวันออก และศึกษาปัจจัยทำนายระดับความพึงพอใจในชีวิต ตัวแปรพยากรณ์ คือ เพศ ราายได้ปัจจุบันต่อเดือน การปฏิบัติตนในการใช้เวลาว่าง การเตรียมตัวก่อนเข้าสู่วัยผู้สูงอายุ การรับรู้ความสำเร็จของงานในอดีต และการรับรู้สภาวะสุขภาพ กลุ่มตัวอย่างประกอบด้วยผู้สูงอายุที่อาศัยอยู่ในภาคตะวันออกจำนวน 200 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสัมภาษณ์รวม 44 ข้อ รวบรวมข้อมูลโดยวิธีการสัมภาษณ์ผู้สูงอายุที่บ้าน ชมรมผู้สูงอายุ และที่วัด ผลการวิจัยพบว่า 1. ผู้สูงอายุมีความพึงพอใจในระดับดี 2. เพศไม่มีความสัมพันธ์กับความพึงพอใจในชีวิตของผู้สูงอายุ 3. ระดับของรายได้ปัจจุบันต่อเดือน การปฏิบัติตนในการใช้เวลาว่างการเตรียมตัวเข้าวัยสูงอายุ และการรับรู้สภาวะสุขภาพ มีความสัมพันธ์ทางบวกกับความพึงพอใจของผู้สูงอายุ 4. ตัวแปรที่มีความสัมพันธ์ในการร่วมกันทำนาย ระดับความพึงพอใจในชีวิตของผู้สูงอายุตามลำดับคือ การรับรู้สภาวะสุขภาพ รายได้ปัจจุบันต่อเดือน การเตรียมตัวก่อนเข้าสู่วัยสูงอายุ และปฏิบัติตนในการใช้เวลาว่าง และตัวแปรกลุ่มนี้สามารถพยากรณ์ระดับความพึงพอใจในชีวิตได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ร้อยละ 36.8 (R2=.368)th_TH
dc.description.sponsorshipได้รับทุนสนับสนุนจากงบประมาณแผ่นดินประจำปี 2540en
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectผู้สูงอายุ - - ไทย (ภาคตะวันออก) - - การดำเนินชีวิตth_TH
dc.subjectผู้สูงอายุth_TH
dc.subjectสาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์th_TH
dc.titleปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความพึงพอใจในชีวิตของผู้สูงอายุในเขตพัฒนาชายฝั่งทะเลภาคตะวันออกth_TH
dc.title.alternativeFactors Related to Life Satisfaction of the Elderly in Eastern Region of Thailand
dc.typeResearchth_TH
dc.year2540
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this study was to investigate the level of life satisfaction among the elderly in Eastern Region of Thailand and to search for variables that would be able to predict life satisfaction. These variable were sex, income,leisure time, preparation before becoming old, perceived previed success in their works and perceived own health status. The sample consisted of 200 elderly who live in the East region of Thailand. A interview form was used to collect the data by interviewing the elderly at their homes, elderly club, and Thai temples. The major findings were as followed. The mean of life satisfaction of the elderly in Thailand was at 'good' level. There was no significant relationship between the sex and life satisfaction. There were positive significant relationship at the .01 level between the monthly income, leisure time,preparation before becoming old, perceived own health, and the level of satisfaction. Factors significantly prediction lifesatisfaction level were perceived own health status, monthly income, preparation bofore becoming old, and leisu7re time, respectively. These predictors for 36.8 percent (R2=.368) of the variance of the life satisfaction level.en
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม ขนาดรูปแบบ 
2567_254.pdf1.34 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น