กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/5137
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | ศิริวรรณ สมนึก | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ | th |
dc.date.accessioned | 2023-03-29T08:58:24Z | |
dc.date.available | 2023-03-29T08:58:24Z | |
dc.date.issued | 2560 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/5137 | |
dc.description.abstract | การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินผลการดำเนินงานของกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์และกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน ที่มีผลการดำเนินงานตั้งแต่เดือนมกราคม พ.ศ. 2556 ถึงเดือนธันวาคม พ.ศ. 2559 ใช้ข้อมูลเป็นรายเดือน มีกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ 14 กองทุน และกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน 4 กองทุน ทำการเปรียบเทียบอัตราผลตอบแทน ความเสี่ยง และค่าสัมประสิทธิ์ความแปรปรวน จากนั้นวัดผลการดำเนินการแต่ละกองทุนโดยมาตรวัดของ Jensen มาตรวัตรของ Treynor มาตรวัดของ Sharpe และมาตรวัดของ AR นอกจากนี้งนงานวิจัยยังทำการศึกษาปัจจัยทางเศรษฐกิจมหภาคที่มีผลกระทบต่ออัตราผลตอบแทนกองทุนรวมโดยนำข้อมูลมาทดสอบความสัมพันธ์เชิงดุลยภาพระยะยาว และประมาณค่าสมการความสัมพันธ์เชิงดุลยภาพระยะยาวของแต่ละกองทุนรวมด้วยแบบจำลอง Autoregressive Distributed Lag (ARDL) แต่ละแบบจำลองแบ่งตามวิธีการคำนวณอัตราผลติบแทน NAV จากราคาปิด ในการศึกษาพบว่า การลงทุนในกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐานมีอัตราเงินปันผลตอบแทนเฉลี่ยสูงกว่ากองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ และทั้ง 2 กองทุนมีอัตราเงินปันผลตอบแทนเฉลี่ยและค่าความเสี่ยงที่สูงกว่ากลุ่มหลักทรัพย์ใน SETHD ส่วนในการประเมินผลการดำเนินงานตามมาตรวัดทั้ง 4 มาตรวัด พบว่าในกรณีใช้ข้อมูลมูลค่าสินทรัพย์สุทธิต่อหน่วยให้ผลที่สอดคล้องกันคือกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐานมีผลการดำเนินงานที่ดีกว่ากองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ ส่วนของการประมาณค่าสมการความสัมพันธ์เชิงดุลยภาพระยะยาว พบว่า อัตราผลตอบแทนเฉลี่ยของกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ จะแปรผกผันกับดัชนีราคาผู้บริโภค ราคาทองคำ ราคาน้ำมันดิบ และอัตราการว่างงาน และจะแปรตามดัชนีราคาตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ดัชนีรวมผลผลิตอุตสาหกรรม และดัชนีการลงทุน ในอัตราผลตอบแทนเฉลี่ยของกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน พบว่าอัตราผลตอบแทนเฉลี่ยของกองทุนโครงสร้างพื้นฐานจะแปรผกผันกับกับดัชนีราคาผู้บริโภค ดัชนีค่าเงินบาทที่แท้จริง และแปรตามกับดัชนีราคาตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย | th_TH |
dc.description.sponsorship | ได้รับทุนสนับสนุนจากงบประมาณเงินรายได้ ภาควิชาเศรษฐศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา 2560 | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.subject | การลงทุน | th_TH |
dc.subject | อสังหาริมทรัพย์ - - การลงทุน | th_TH |
dc.subject | กองทุนรวม | th_TH |
dc.subject | กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ | th_TH |
dc.title | การวิเคราะห์เปรียบเทียบผลตอบแทนและความเสี่ยงจากการลงทุนในกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์และกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐานในประเทศไทย | th_TH |
dc.title.alternative | The return and risk comparative analysis of investment on property fund and infrastructure fund in Thailand | th_TH |
dc.type | Research | th_TH |
dc.author.email | siriwan.mami@gmail.com | th_TH |
dc.year | 2560 | th_TH |
dc.description.abstractalternative | This paper presents the performance between property funds and infrastructure funds by using monthly data from 2013 to 2016 of 14 property funds and 4 infrastructure funds to compare the rate of return, risk and coefficient of variation, evaluate and compare the performance of property funds and infrastructure funds by Jensen model, Treynor model, Sharpe model and AR model. This study also analyzes the long-run relationship between macroeconomic factors and the average rate of return of property funds and infrastructure funds with the autoregressive Distributed (ARDL) separate by NAV computed and close price computed. The results of this study shows that coefficient of variation of infrastructure funds higher than property funds, that means at per unit of risk, dividend yield of infrastructure funds higher than property funds, and rate of return and risk of both infrastructure and property funds higher than SETHD. The outcome of the evaluation of the performance of mutual fund by 4 models, the performance of infrastructure funds higher than property funds. The estimated results of long-run relationship between macroeconomic factors and return rate of each mutual fund model, the average return rate of property fund negative related with consumer price index, gold price, oil price and unemployment, positive related with SET index, manufacturing production index and private investment index. The average return rate of infrastructure funds in negative related to consumer price index, real effective exchange rate and positive related with SET index. | th_TH |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | รายงานการวิจัย (Research Reports) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
2566_118.pdf | 7.91 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น