กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/5125
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorกุลธิดา กล้ารอด
dc.contributor.authorนงนุช ล่วงพ้น
dc.contributor.authorศิริรัตน์ เกียรติกูลานุสรณ์
dc.contributor.authorสานิตา สิงห์สนั่น
dc.contributor.authorพรพรหม สุระกุล
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะสหเวชศาสตร์th
dc.date.accessioned2023-02-13T04:04:07Z
dc.date.available2023-02-13T04:04:07Z
dc.date.issued2563
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/5125
dc.description.abstractการออกกําลังกายเป็นประจํานั้นเกี่ยวข้องกับการสร้างภาวะเครียดออกซิเจนในระดับต่ํา ซึ่งสามารถ กระตุ้นการสร้างสารต้านอนุมูลอิสระเป็นผลมาจากการฝึกออกกําลังกายสัมพันธ์กับการเพิ่มความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ ดังนั้นการศึกษานี้จึงมีวัตถุประสงค์ในการศึกษาผลของการออกกําลังกายแบบชี่กงเป็นเวลา 8 สัปดาห์ ต่อผลของความจํา ความแข็งแรงของกล้ามเนื้อหลังและขา และความยืดหยุ่นของลําตัว รวมทั้งภาวะเครียด ออกซิเจน สารต้านอนุมูลอิสระ และการเปลี่ยนแปลงของสารเคมีในเลือด ในผู้ป่วยเบาหวานเพศหญิง โดย อาสาสมัครเป็นผู้ป่วยเบาหวานเพศหญิง อายุระหว่าง 45-70 ปี ผู้ซึ่งไม่ค่อยออกกําลังกาย จํานวน 36 คน ทําการ แบ่งกลุ่มออกเป็น 2 กลุ่ม คือกลุ่มออกกําลังกายชี่กงเป็นเวลา 8 สัปดาห์ จํานวน 20 คน และกลุ่มควบคุมจํานวน 16 คน หลังจากฝึกออกกําลังกายชี่กง พบว่ากลุ่มฝึกออกกําลังกายแบบชี่กงมีความแข็งแรงของขาและความ ยืดหยุ่นของลําตัวเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ (p < 0.05) อย่างไรก็ตามค่าความจําและค่าสารเคมีทางเลือด รวมทั้งค่าสารต้านอนุมูลอิสระและความเครียดออกซิเจนไม่มีความแตกต่างอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ (p > 0.05) จากการศึกษานี้แสดงถึงผลของการฝึกออกกําลังกายแบบชี่กงเป็นเวลา 8 สัปดาห์มีผลทําให้มีความแข็งแรงของ กล้ามเนื้อที่เกี่ยวข้องกับการฝึกออกกําลังกาย และมีการเปลี่ยนแปลงของสารเคมีต่าง ๆ แม้จะไม่มีความ เปลี่ยนแปลงอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติก็ตามth_TH
dc.description.sponsorshipได้รับทุนอุดหนุนการวิจัย ประเภทเงินรายได้ ประจำปีงบประมาณ 2563 คณะสหเวชศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะสหเวชศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectการออกกำลังกายสำหรับผู้สูงอายุth_TH
dc.titleประสิทธิผลของการออกกำลังกายแบบฝึกชี่กงต่อการรู้คิดภาวะต้านอนุมูลอิสระ และภาวะทางโลหิตในสตรีวัยกลางคนและวัยสูงอายุที่ไม่ค่อยออกกำลังกายและมีโรคไม่ติดต่อเรื้อรังth_TH
dc.title.alternativeEffectiveness of Qigong Exercise Training on Cognitive Performance, Antioxidants, and Hematological Status in Sedentary Female Elderly with Non- Communicable diseasesen
dc.typeResearchth_TH
dc.year2563th_TH
dc.description.abstractalternativeRegular exercise is associated with the production of small amounts of oxidative stress which might promote individual antioxidant capacity contributing to favorable training effects potentially interrelated with skeletal muscle strength. Therefore, the present study was aimed at evaluating effects of an 8-week Qigong exercise training on muscle strengths associated with responses of oxidative stress and antioxidants in young sedentary females. A total of 36 women with Diabetes Mellitus and sedentary age 45-70-year-old were allocated to the Qigong exercise group (QG, N=20) or to the control group (CG, N=16). After 8 weeks of Qigong training, back and leg strength was significantly improved compared to baseline and the CG (P < 0.05). Cognitive performance, plasma oxidative stress, antioxidant levels, and chemical blood indicators were not significantly difference (P > 0.05). The presented findings indicate that strength training effects improve on exercised muscles. The change of antioxidant and oxidative stress seem to be indicated, although there were not find significant difference.th_TH
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
2566_041.pdf3.28 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น