กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/506
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorยุวดี ลีลัคนาวีระ
dc.contributor.authorพรนภา หอมสินธุ์
dc.contributor.authorรุ่งรัตน์ ศรีสุริยเวศน์
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะพยาบาลศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T08:51:53Z
dc.date.available2019-03-25T08:51:53Z
dc.date.issued2545
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/506
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาวิถีชีวิตและปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อวิถีชีวิตที่ส่งเสริมสุขภาพของนักเรียนมัธยมศึกษาในเขตภาคตะวันออก เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นเอง โดยดัดแปลงจากแบบประเมินแบบแผนการดำเนินชีวิตและพฤติกรรมสุขภาพของ เพนเดอร์ (Pender, 1996) ทดสอบความเชื่อมั่นกับกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 50 คน แบบสอบถามมีค่าความเชื่อมั่นในระดับสูง ทุกชุด (α อยู่ระหว่าง .8607 - .9556) เก็บข้อมูลนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย จำนวน 1244 คน ระหว่างเดือนมกราคม พ.ศ. 2544 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ คือ การวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน ผลการศึกษาพบว่านักเรียนส่วนใหญ่มีวิถีชีวิตที่ส่งเสริมสุขภาพในระดับปานกลาง คิดร้อยละ 57.8 รองลงมามีวิถีชีวิตที่ส่งเสริมสุขภาพอยู่ในระดับดี ร้อยละ 42.0 และมีร้อยละ 0.2 มีวิถีชีวิตที่ส่งเสริมสุขภาพในระดับไม่ดี ส่วนปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อวิถีชีวิตที่ส่งเสริมสุขภาพ ได้แก่ สถานการณ์ที่แวดล้อม การรับรู้อุปสรรคของการมีวิถีชีวิตที่ส่งเสริมสุขภาพ อิทธิพลระหว่างบุคคลและ การรับรู้ประโยชน์ของวิถีชีวิตที่ส่งเสริมสุขภาพ (beta = 0.321, p <.001; beta = -0.217, p <.001; beta = 0.138, p <.001, beta = 0.133, p <.001 ตามลำดับ) และสามารถร่วมกันอธิบายวิถีชีวิตที่ส่งเสริมสุขภาพของนักเรียนมัธยมศึกษา ได้ร้อยละ 32.1 (R2 = .321, p <.001) โดยมีสมการทำนายดังนี้ วิถีส่งเสริมสุขภาพ = 2.063 + 0.332 อิทธิพลของสถานการณ์ที่แวดล้อม -0.19 การรับรู้ อุปสรรค + 0.107 อิทธิพลระหว่างบุคคล + 0.172 การรับรู้ประโยชน์ การวิจัยครั้งนี้มีข้อเสนอแนะว่าควรส่งเสริมสนับสนุนให้นักเรียนมีการปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตที่ส่งเสริมสุขภาพให้มากขึ้น โดยการเพิ่มปัจจัยด้านอิทธิพลของสถานการณ์แวดล้อม ที่จะสนับสนุนให้นักเรียนเกิดแรงจูงใจและสะดวกที่จะปฏิบัติพฤติกรรมสุขภาพ ส่งเสริมให้บุคคลที่อยู่ใกล้ชิดกับนักเรียน มีวิถีชีวิตที่ส่งเสริมสุขภาพที่เป็นตัวอย่างแก่นักเรียนให้มากขึ้น มีการรณรงค์เผลแพร่ข้อมูลข่าวสาร เพื่อให้การรับรู้ประโยชน์ของการมีวิถีชีวิตที่ส่งเสริมสุขภาพแก่นักเรียนมัธยมศึกษาให้มากขึ้น รวมถึงผู้ปกครอง ครู และผู้นำชุมชน ก็ควรกระตุ้นให้ความสำคัญเช่นกัน เพื่อจะได้เป็นแบบอย่างที่ดีแก่นักเรียนสามารถเกิดวิถีชีวิตที่ส่งเสริมสุขภาพได้อย่างสะดวก ง่าย และปลอดภัย ซึ่งจะเป็นการลดอุปสรรคต่อการเกิดวิถีชีวิตที่ส่งเสริมสุขภาพของนักเรียนและทำให้เกิดวิถีชีวิตที่ส่งเสริมสุขภาพแบบยั่งยืนต่อไปth_TH
dc.description.sponsorshipได้รับทุนสนับสนุนจากงบประมาณแผ่นดินปี 2542 คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาen
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectการส่งเสริมสุขภาพ - - ไทย (ภาคตะวันออก)th_TH
dc.subjectนักเรียน - - ไทย (ภาคตะวันออก)th_TH
dc.subjectนักเรียนมัธยมศึกษา - - การดำเนินชีวิตth_TH
dc.subjectนักเรียนมัธยมศึกษา - - สุขภาพและอนามัยth_TH
dc.subjectสาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์th_TH
dc.titleวิถีชีวิตที่ส่งเสริมสุขภาพของนักเรียนมัธยมศึกษาในเขตภาคตะวันออกth_TH
dc.title.alternativeHealth-promoting lifestyle among high school students in Eastern regionen
dc.typeResearchth_TH
dc.year2545
dc.description.abstractalternativeThis research aimed to describe lifestyle and determined factors influencing the health – promoting lifestyle of high school students in the eastern region. The questionnaire, based on Pender’s Health – Promoting Profile II, was developed and tested for is reliability, with the alpha coefficient of higher than 80. The data were collected from 1,244 students in twelve high schools, which were located in four eastern region provinces. Self – administered questionnaires were employed for data collection during January, 2001. Data analysis techniques was stepwise multiple regression The results depicted that 57.8% of the students had moderate level of health promoting – lifestyle, 42.0% had high level of health promoting lifestyle and 0.2% had low level of health promotion – lifestyle, interpersonal influences, perceived benefits of health – promoting lifestyle were significantly affected health – promoting lifestyle (beta = 0.321, p <.001; beta = -0.217, p <.001; beta = 0.138, p <.001, beta = 0.133, p <.001 respectively). All factors, together, explained 32.1% (R2 = .321, p <.001) of the health – promoting lifestyle. It was recommend that students should be encouraged to perform health – promoting lifestyle by improving situational influences, motivating persons who closed to the students to be role models, providing information about benefits of health – promoting lifestyle. Health – promoting lifestyle which is convenient, simple, and safe will help decrease perceived barriers among students and keep them having health – promoting lifestyle in their lifeen
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม ขนาดรูปแบบ 
2567_253.pdf5.49 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น