กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4752
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorตุลาพล นิติเดชา
dc.date.accessioned2022-09-06T01:49:41Z
dc.date.available2022-09-06T01:49:41Z
dc.date.issued2565
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4752
dc.descriptionโครงการวิจัยนี้ได้รับทุนสนับสนุนบุคลากรสายสนับสนุนวิชาการ เพื่อพัฒนากระบวนการปฏิบัติงานประจำสู่งานวิจัย (Routine to Research: R2R) มหาวิทยาลัยบูรพา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564)th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อวิเคราะห์ปัญหาและประสิทธิภาพการดำเนินงาน สายสนับสนุนวิชาการ และ (2) เพื่อศึกษาการนำแนวคิดลีนมาปรับปรุงกระบวนการทำงาน สายสนับสนุนวิชาการ ฝ่ายสารบรรณ ฝ่ายสหกิจศึกษา ฝ่ายบัณฑิตศึกษา ดำเนินการวิจัยโดยเก็บข้อมูลจากกระบวนการทำงานปัจจุบันตั้งแต่เริ่มต้นจนถึงสิ้นสุดกระบวนการทำงาน โดยวิธีสัมภาษณ์และแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลด้วย 1) การเขียนผังการไหลในกระบวนงาน 2) การใช้แผนผังสาเหตุและผล 3) การใช้แผนผังสายธารแห่งคุณค่า 4) ใช้หลัก ECRS 5) ความถี่ ค่าเฉลี่ย และวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยประกอบด้วย 1) การดำเนินการตามแนวทางใหม่โดยใช้แนวคิด Lean 2) การประเมินจากการดำเนินการใช้แนวคิด Lean มาปรับปรุงการทำงาน และ 3) การแนะนำให้ฝ่ายอื่น ๆ ได้นำระบบลีนมาปรับใช้ ผลการวิจัย พบว่า (1) งานสารบรรณ หลังปรับปรุงสามารถแก้ปัญหาการเข้าถึงเอกสารได้ โดยเป็นการเพิ่มคุณค่าของกระบวนการทำงาน กระบวนการทำงานก่อนปรับปรุงงานใช้เวลา 463.531 นาที กระบวนการทำงานหลังปรับปรุงงานใช้เวลา 458.503 นาที สามารถลดขั้นตอนได้ 2 ขั้นตอน ลดเวลาการทางานเฉลี่ยลงได้ 5.028 (2) งานสหกิจศึกษา แบ่งเป็น 2 ส่วน คือ สำนักงาน และนิสิต เมื่อเปรียบเทียบก่อนและหลัง รวมทุกกระบวนการทำงานงานสหกิจศึกษา ส่วนของสำนักงาน พบว่า ยังไม่สามารถลดเวลาการทำงานลงได้และเพิ่มเวลาการทำงานไปเฉลี่ย 35 นาที เนื่องจากเพิ่มกระบวนการที่เพิ่มคุณค่าให้กับการทำงานให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น และเมื่อเปรียบเทียบก่อนและหลัง รวมทุกกระบวนการทำงานงานสหกิจศึกษา ส่วนของนิสิต พบว่า กระบวนการเพิ่มขึ้นจริง แต่เมื่อสามารถเพิ่มคุณค่าในกระบวนการทำงานในการเข้าดูเอกสารการตอบรับนิสิต ซึ่งเป็นการดูเอกสารการตอบรับที่ง่ายขึ้นและรวดเร็วมากขึ้น จึงทำให้เมื่อคิดเป็นเวลาสามารถลดเวลาการดำเนินงานเฉลี่ยลงไปได้ 27 นาที (3) งานบัณฑิตศึกษา แบ่งเป็น 2 ส่วน คือ งานทั่วไป และงานนิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และดุษฎีนิพนธ์ เมื่อเปรียบเทียบก่อนและหลัง รวมทุกกระบวนการทำงานงานบัณฑิตศึกษา ส่วนของงานทั่วไป พบว่า กระบวนการดำเนินงานเพิ่มขึ้นจากการเพิ่มคุณค่าในกระบวนการดำเนินงานมีการเพิ่มเวลาเพื่อที่จะสร้างคุณค่าในการดำเนินงานเป็นเวลา 35 นาที ทั้งนี้ไม่สามารถลดเวลาในการดำเนินงานลงได้แต่สามารถช่วยให้การดำเนินงานโดยรวมของเจ้าหน้าที่ง่ายมากขึ้น ซึ่งสะดวกทั้งนิสิตและเจ้าหน้าที่ทั้งหมด และเมื่อเปรียบเทียบก่อนและหลัง รวมทุกกระบวนการทำงานงานบัณฑิตศึกษา ส่วนของงานนิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และดุษฎีนิพนธ์ พบว่า กระบวนการดำเนินงานเพิ่มขึ้นจากการเพิ่มคุณค่าในกระบวนการดำเนินงานมีการเพิ่มเวลาเพื่อที่จะสร้างคุณค่าในการดำเนินงานเป็นเวลา 36 นาที ทั้งนี้ไม่สามารถลดเวลาในการดำเนินงานลงได้แต่สามารถช่วยให้การดำเนินงานโดยรวมของเจ้าหน้าที่ง่ายมากขึ้น จากการปรับปรุงกระบวนการดำเนินงานบัณฑิตศึกษาในส่วนของงานนิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และดุษฎีนิพนธ์ มีการปรับปรุงกระบวนการดำเนินการโดยการเพิ่มคุณค่า โดยการเจ้าหน้าที่สร้าง Google Drive ที่ใช้ในการจัดเก็บและเผยแพร่งานนิพนธ์สำหรับนิสิตภายในคณะในขั้นตอนที่เจ้าหน้าที่สร้างโฟลเดอร์แต่ละงาน โดยแยกปีการศึกษาที่จบงานนิพนธ์ งานวิทยานิพนธ์ และงานดุษฎีนิพนธ์ และในขั้นตอนที่นิสิต ส่งงานนิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และดุษฎีนิพนธ์ฉบับสมบูรณ์ให้กับทางเจ้าหน้าที่ทำการจัดเก็บและเผยแพร่ สุดท้ายในขั้นตอนที่เจ้าหน้าที่ทำการอับโหลดไฟล์งานนิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และดุษฎีนิพนธ์ เข้า Google Drive แต่ละโฟลเดอร์ที่กำหนดไว้ (4) ความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก กิจกรรมที่ทำให้เกิดความสูญเปล่ามากที่สุด คือ ความสูญเสียจากการผลิตที่มากเกินไป ผลกระทบต่อประสิทธิภาพการทำงานในด้าน ต่าง ๆ มากที่สุด คือ ด้านเวลาในการทำงานและด้านต้นทุน (5) ผลการสำรวจการแนะนาให้ฝ่ายอื่น ๆ ได้นำระบบลีนมาปรับใช้ คิดเป็นร้อยละ 56 อยู่ในช่วง Promoterth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectการควบคุมคุณภาพth_TH
dc.subjectการควบคุมความสูญเปล่าth_TH
dc.subjectการผลิตแบบลีนth_TH
dc.titleการประยุกต์ใช้แนวคิดลีนเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพงานสนับสนุนวิชาการในสถาบันการศึกษา กรณีศึกษา คณะโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.title.alternativeApplication of Lean concept to Enhance Academic Support Work in Educational Institutions, Case Study, Faculty of Logistics Burapha Universityen
dc.typeResearchth_TH
dc.author.emailtulaphni@buu.ac.th
dc.year2565th_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were (1) to analyze problems and efficiency of academic support operations and (2) to study the application of Lean concept to improve work processes in academic support lines, Correspondence Department, Cooperative Education Department. Graduate Studies Conduct research by collecting data from the current workflow from the beginning to the end of the process. by interview method and questionnaire The data were analyzed by 1) drawing flow charts in the procedure 2) using cause and effect diagrams 3) using value stream diagrams 4) using ECRS 5) frequency, average and content analysis. The research findings consisted of 1) the implementation of the new approach using the Lean concept, 2) the evaluation of the implementation of the Lean concept to improve performance, and 3) the recommendation that other parties adopt the Lean System. The results of the research found that (1) the documentary work after improvement could solve the problem of document accessibility. By adding value to the work process the work process before work improvement took 463.531 minutes. The work process after work improvement took 458.503 minutes. The process can be reduced by 2 steps, reducing the average working time by 5.028 (2) Cooperative education work is divided into 2 parts: office and students. Compare before and after including all processes of cooperative education work in the office sector, it was found that the work time was not reduced and increased the average work time to 35 minutes because of adding value-added processes to more efficient work and when comparing before and after including all processes of cooperative education work. For the students, it was found that the process actually increased. But when it can add value to the work process in viewing student acceptance documents this is easier and faster to view the response document. Therefore, when thinking about time, the average time of operation can be reduced to 27 minutes. (3) Graduate studies work is divided into 2 parts, which are general work and thesis work, thesis and dissertation. When comparing before and after including all processes of graduate studies as for the general work, it was found that the operational process was increased by adding value to the process. There was an increase in time to create operational value for 35 minutes. Operation time could not be reduced, but it could help. Make the overall operation of the staff easier. which is convenient for both students and all staff and when comparing before and after including all processes of graduate studies As for thesis, dissertation and dissertation work, it was found that the work process increased from adding value in the process. The time spent in order to create value in the work was increased for 36 minutes. However, the operating time could not be reduced. But it can help make the overall operation of the staff much easier. From the improvement of the graduate study process in the thesis, dissertation and dissertation work Process improvements are made by adding value. The staff creates a Google Drive that is used to store and distribute thesis work for students within the faculty in the process of creating folders for each assignment. by separating the academic year at the end of the thesis thesis work and thesis work And in the process when students submit a complete thesis, thesis and dissertation work to the staff for collecting and disseminating. Finally, in the process where the staff uploaded the thesis work, thesis and dissertation files into Google Drive in each specified folder (4), the satisfaction was at a high level. The most wasteful activity is the loss of overproduction. The most impacted on productivity in various areas was time to work and cost. (5) The survey results suggest that others adopt lean systems. Representing 56% in the promoter phase.en
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
2565_216.pdf5.79 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น