กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4694
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | สุภัทรา เทพรส | - |
dc.contributor.author | อนุกูล บูรณประทีปรัตน์ | - |
dc.contributor.author | ดุษฎี หลีนวรัตน์ | - |
dc.date.accessioned | 2022-08-16T03:30:03Z | - |
dc.date.available | 2022-08-16T03:30:03Z | - |
dc.date.issued | 2565 | - |
dc.identifier.issn | 2351-0781(online) | - |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4694 | - |
dc.description.abstract | งานวิจัยนี้จัดทำขึ้นเพื่อศึกษาแหล่งทำประมงปลาทูในอ่าวไทยโดยใช้ข้อมูลจากระบบติดตามเรือและสมุดบันทึกการทำการประมงจากเรือประมงพาณิชย์อวนล้อมจับที่ออกทำการประมงพื้นที่อ่าวไทยในปี 2562 และศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างแหล่งทำประมงปลาทูกับคลอโรฟิลล์-เอ และอุณหภูมิที่ผิวน้ำทะเลจากข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียม MODIS-Aqua โดยใช้แบบจำลอง Generalized Additive Model (GAM) ผลการศึกษาพบว่าแหล่งทำประมงปลาทูเปลี่ยนแปลงไปตามลมมรสุม ในฤดูมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ (ฤดูฝน) แหล่งทำประมงจะอยู่ในบริเวณตั้งแต่จังหวัดสุราษฎร์ธานี ชุมพร และประจวบคีรีขันธ์จนถึงบริเวณอ่าวไทยตอนบน ในฤดูมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ (ฤดูหนาว) แหล่งทำประมงจะอยู่ในบริเวณอ่าวไทยตอนบน เรื่อยลงไปยังจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ชุมพร และสุราษฎร์ธานี ในช่วงเปลี่ยนจากมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือเป็ นตะวันตกเฉียงใต้ (ฤดูร้อน) พบการทำประมงมากบริเวณจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ จากการวิเคราะห์ด้วยแบบจำลอง GAM พบว่าคลอโรฟิลล์-เอ และอุณหภูมิที่ผิวน้ำทะเลมีความสัมพันธ์กับการทำประมงปลาทู (p < 0.001) ในช่วงคลอโรฟิฃลล์-เอที่ 0.2-0.5 มิลลิกรัมต่อลูกบาศก์เมตร และอุณหภูมิที่ผิวน้ำทะเลที่ 29.5-31.0 องศาเซลเซียส และพบว่าพื้นที่ทำการประมงในช่วงเวลาต่าง ๆ มีความสอดคล้องกับลักษณะการไหลเวียนกระแสน้ำตามฤดูกาลในอ่าวไทย | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.subject | ประมงปลาทู | th_TH |
dc.subject | ประมงทะเล | th_TH |
dc.subject | ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ | th_TH |
dc.subject | การวิเคราะห์ข้อมูลระยะไกล | th_TH |
dc.title | การศึกษาแหล่งทำประมงปลาทูในอ่าวไทย และความสัมพันธ์ระหว่างแหล่งทำประมงกับปัจจัยทางสมุทรศาสตร์จากข้อมูลระบบติดตามเรือโดยใช้เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ | th_TH |
dc.title.alternative | The investigation of Mackerel (Rastrelliger spp.) fishing grounds in the Gulf of Thailand and the relationship between fishing grounds with oceanographic parameters based on data from Vessel Monitoring System (VMS) using geo-informatics technology | th_TH |
dc.type | Article | th_TH |
dc.issue | 2 | th_TH |
dc.volume | 27 | th_TH |
dc.year | 2565 | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this study were to investigate mackerel (Rastrelliger spp.) fishing grounds in the Gulf of Thailand based on data from vessel monitoring system (VMS) and fishing logbook from surrounding net fisheries in the Gulf of Thailand in 2019. The relationships between mackerel fishing grounds with satellite data of chlorophylla (Chl-a) and sea surface temperature (SST) from MODIS-Aqua Sensor were investigated using the Generalized Additive Model (GAM). The results showed that mackerel fishing grounds change according to the monsoons. In the southwest monsoon ( rains) , fishing grounds were located from Surat Thani, Chumphon and Prachuap Khiri Khan provinces to the upper Gulf of Thailand. In the northeast monsoon (winter) , fishing grounds were found the move from the upper Gulf of Thailand to Prachuap Khiri Khan, Chumphon and Surat Thani provinces. During intermonsoon (summer), most fishing grounds were in Prachuap Khiri Khan Province. Fishing grounds were significantly related (p < 0.001) to Chl-a ranging between 0.2 – 0.5 milligram per cubic meter and SST between 29.5 - 31.5 degree Celsius. Temporal variations in fishing areas were in line with seasonal circulations in the Gulf of Thailand. | th_TH |
dc.journal | วารสารวิทยาศาสตร์บูรพา = Burapha science journal | th_TH |
dc.page | 1017-1036. | th_TH |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | บทความวิชาการ (Journal Articles) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
sci27n2p1017-1036.pdf | 1.15 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น